ชุมชนหมู่ 5 ทุ่งครุ
ชุมชนหมู่ 5 ทุ่งครุ แขวง ทุ่งครุ เขตทุ่งครุ จังหวัด กรุงเทพมหานครฯ
1. ข้อมูลพื้นฐานของชุมชน
1.1 ประวัติและความเป็นมาของชุมชน

    เป็นชุมชนในเขตทุ่งครุดั้งเดิม (ซึ่งก่อนจะเปลี่ยนมาเป็นแขวงทุ่งครุ) เริ่มตั้งชุมชนมาเมื่อ
ประมาณ100 กว่าปี ซึ่งเริ่มแรกมีการเข้ามาตั้งชุมชนจำนวน 10 หลังคาเรือน พื้นที่ส่วนใหญ่ของ
ชุมชนเป็นพื้นที่โล่งกว้างใช้สำหรับการทำนาของคนในชุมชน การตั้งบ้านเรือนของชุมชนมี
ลักษณะกระจายกันไป ซึ่งทำให้การเดินทางไปมาหาสู่กันระหว่างชุมชนมีความลำบาก หลังจากนั้น
ชุมชนได้เกิดการเปลี่ยนแปลงอาชีพ คือ ซึ่งจากที่เคยทำนาปลูกข้าว ทำไร่ ทำสวนส้มบางมด
ที่มีชื่อเสียงเมื่อประมาณ 20-30 ปี แต่แล้วก็ต้องล้มเลิกอาชีพทำสวนส้มไป เนื่องจากประสบปัญหา
น้ำเสีย น้ำท่วม น้ำเค็มหนุน และการเสื่อมสภาพของดิน ชาวบ้านเริ่มขายพื้นที่ทำกิน พื้นที่จากเดิมที่
เคยเป็นสวนหรือท้องไร่ ท้องนาเปลี่ยนสภาพเป็นบ้านจัดสรร
เริ่มก่อตั้งในปี 2451 หรือประมาณ 100 ปีมาแล้วการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของ
ชุมชนเริ่มเมื่อ ปี 2519 เริ่มมีไฟฟ้าเข้ามาในชุมชนปี 2535 ผู้คนเริ่มย้ายเข้ามาในพื้นที่และหางาน
ทำมากขึ้น แล้วมาตั้งรกรากถิ่นฐานบ้านเรือนใน พื้นที่เขตทุ่งครุ   

1.2 โครงสร้างพื้นฐานชุมชนเริ่มเข้าไปพัฒนาเมื่อปี 2519 โดยมีการพัฒนาดังนี้
      1. ไฟฟ้า
      2. น้ำประปา
      3. ถนน

1.3 สภาพปัจจุบัน ประชากรทั้งหมด1485 คน ชาย 692 .คน หญิง. 793 คน
      ในหมู่บ้าน/ชุมชนมีครัวเรือน 170 ครอบครัว มีบ้าน 156 หลังคาเรือน

1.5 ปัญหาสำคัญภายในชุมชนมีดังนี้
      • ปัญหาขยะ
      • ปัญหาชุมชนแออัด
      • ปัญหาสาธารณูปโภคไม่เพียงพอ
      • ปัญหาเรื่องสาธารณสุขชุมชน เช่น ไข้เลือดออก และแมลงวันชุกชุม
      • ปัญหายาเสพติดภายในชุมชน

1.6 การทำงานร่วมกับหน่วยงานภายนอกชุมชนทั้งภาครัฐและเอกชน
      1. สำนักงานเขตทุ่งครุ เช่น เข้ามาจัดอบรมและให้ความรู้ต่างๆภายในชุมชน
      2. อนามัยเขตทุ่งครุ เช่น เข้ามาดูแลเรื่องสุขอนามัยและบริการตรวจและความดัน
      3. สถานีตำรวจนครบาลเขตทุ่งครุ เช่น จัดฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับปัญหายาเสพติดภายในชุมชน           และอบรมอาสาตำรวจชุมชน ทำหน้าที่เป็นตัวแทนตำรวจมีหน้าคอยสอดส่องและแจ้งเหตุให้กับเจ้าหน้าตำรวจ

1.7 แผนที่ชุมชน

1.8 ภาพสภาพแวดล้อมของชุมชน

2. ข้อมูลแบบสัมภาษณ์ของคณะกรรมการชุมชน
ชื่อชุมชน ชุมชนหมู่ 5 ทุ่งครุ
ชื่อผู้ให้สัมภาษณ์ นางอุไรวรรณ โพธิ์จันทร์ ตำแหน่ง/หน้าที่ ประธานชุมชน
    1. ที่ตั้งของชุมชน บริเวณยาวเส้นถนนประชาอุทิศวัดทุ่งครุ
    2. อาณาเขตติดต่อ
        - ทิศเหนือติดกับ ตลาดทิพวัล
        - ทิศตะวันออกติดกับ ติดกับหมู่ 6 มีถนนประชาอุทิศกั้น
        - ทิศใต้ติดกับ สำนักงานเขตทุ่งครุ
        - ทิศตะวันตกติดกับ คลองหนองร

3. คณะกรรมการชุมชนมีบทบาทในการพัฒนาหรือการปกครองชุมชนอย่างไรบ้าง
    3.1 เป็นผู้แทนชุมชนในการประชุม
    3.2 ประกับหน่วยงานต่าง ๆ

4. ภายในชุมชนมีสถานที่สำคัญอะไรบ้างและมีความเป็นมาอย่างไร
    4.1 วัดทุ่งครุ
    4.2 โรงเรียนวัดทุ่งครุ (ผึ่งสายอนุสรณ์)
    4.3 ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน
    4.4 ศูนย์อนามัย

5. ชุมชนมีกฏระเบียบหรือข้อบังคับในการอยู่ร่วมกันภายในชุมชนอย่างไรบ้าง
    -

6. ชุมชนมีนโยบายหรือแผนในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง
    6.1 ไม่มีชัดเจน
    6.2 อีก 1-2 เดือนหน้าอยากทำแผนชุมชนให้เสร็จ

7. ในชุมชนมีปัญหาอะไรบ้าง
    - ปัญหาด้านสังคม

        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหายาเสพติด
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาลักเล็กขโมยน้อย, ปัญหาทะเลาะกัน,
        ปัญหาผู้สูงอายุถูกทอดทิ้ง

    - ปัญหาด้านเศรษฐกิจ
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาหนี้นอกระบบ, ปัญหารายได้น้อย
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาคนว่างงาน
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง -

    - ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาจราจรที่หนาแน่น
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการจราที่มักเกิดอุบัติเหตุ
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง -

    - ปัญหาด้านสารธารณสุข
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาภาวะโภชนาการเด็ก (มีน้ำหนักมาก30-40 %) , ปัญหาการติดสุรา,         ปัญหาอุบัติเหตุจากการจราจรบนท้องถนน
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง การแพร่ระบาดของโรคที่มีสัตว์นำโรค

    - ปัญหาด้านการศึกษา
        ชุมชนหมู่ 5 ทุ่งครุ ไม่มีปัญหาทางด้านการศึกษา

    - ปัญหาด้านศาสนา
        ชุมชนหมู่ 5 ทุ่งครุ ไม่มีปัญหาทางด้านศาสนา

    - ปัญหาด้านประเพณีและวัฒนธรรม
        ชุมชนหมู่ 5 ทุ่งครุ ไม่มีปัญหาทางด้านประเพณีและวัฒนธรรม

    - ปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาน้ำเน่าเสีย, ปัญหาขยะมูลฝอย, ปัญหาชุมชนแออัด

    - ปัญหาด้านการเมืองการบริหาร
        ชุมชนหมู่ 5 ทุ่งครุ ไม่มีปัญหาทางด้านการเมืองการบริหาร

8. จงเรียงลำดับความสำคัญของปัญหาที่ชุมชนต้องแก้ไขเร่งด่วนมากที่สุด เพราะอะไร
    8.1 ทางเดิน คสล. เพราะชำรุด
    8.2 ผู้สูงอายุ 50% ยังไม่ได้เยเงินยังชีพ
    8.3 สุนัขจรจัดเยอะมาก เพราะสร้างความเดือดร้อนรำคาญ นำโรคพิษสุนัขบ้า

9. ในชุมชนมีกลุ่มกิจกรรมอะไรบ้างที่ทางราชการและเอกชนเข้ามาส่งเสริม
    - ด้านสุขภาพ
        มีกิจกรรมดังนี้ กิจกรรมรณรงค์ต่อต้านการแพร่ระบาดของยาเสพติดใน
ชุมชน, กิจกรรมรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคความดันโลหิต, รณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก, การ
ตรวจมะเร็งเต้านม

    - ด้านอาชีพ
        มีกิจกรรมดังนี้ จัดตั้งกลุ่มแม่บ้าน

    - ด้านการออมทรัพย์
        มีกิจกรรม ดังนี้ กองทุนหมู่บ้าน

    - ด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
        มีกิจกรรม ดังนี้ การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม, การทำบุญตักบาตร,กิจกรรมวันปีใหม่และวันสงกรานต์, การส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม, ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับศาสนพิธี

    - ด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม
        ชุมชนหมู่ 5 ทุ่งครุ ไม่มีปัญหาทางด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม

    - ด้านการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อม
        ชุมชนหมู่ 5 ทุ่งครุ ไม่มีปัญหาทางด้านการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อม

    - ด้านการเมืองการปกครอง
        ชุมชนหมู่ 5 ทุ่งครุ ไม่มีปัญหาทางด้านการเมืองการปกครอง

10. ชุมชนมีโครงการในการพัฒนาชุมชนอะไรบ้างและแต่ละโครงการมีกิจกรรมอย่างไร
    1. ซ่อมแซมทาง คสล.
    2. ตัดหญ้า
    3. ทำความสะอาด

11. คนดีและเก่งที่เป็นกำลังสำคัญในชุมชน
    - ด้านการทำอาหาร
        ขนมไทย สลิ่ม ข้าเหนียวมูล ถั่วแปบ คุณอรทัย ลิ้มประเสริฐ
        การทำอาหารคาวหวาน คุณสมทรง จันทร์โชติ

    - ด้านการช่าง
        ช่างไฟ นายเรืองเดช ผึ้งสาย
        ช่างเชื่อม นายคำรณ ฝอยทอง

    - ด้านการเกษตร

    - ด้านศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม (ทุกศาสนาที่มีอยู่ในชุมชน)
        ผู้นำการในการทำศาสนพิธีของศาสนา ลุงไสว พึ่งสาย (ทำบุญหน้าแต่งงาน)

    - ด้านการแพทย์แผนไทย

    - ด้านการประดิษฐ

    - ด้านอื่น ๆ

12. ในชุมชนมีจุดอ่อนจุดแข็งอะไรบ้าง
    จุดแข็ง- มีวัดเป็นศูนย์รวมจิตใจของคนในชุมชน
    จุดอ่อน - คนสร้างใหม่ไม่ช่วยเสียสละทำงานกับชุมชน
              - ขาดผู้นำ

13. รายชื่อคณะกรรมการหมู่บ้าน
    1. นางอุไรวรรณ โพธิ์จันทร์ ตำแหน่ง ประธาน
    2. น้อย ไกรทวี ตำแหน่ง กรรมการ
    3. น.ส.อัณชนาพรณ์ ผลเพิ่ม ตำแหน่ง กรรมการ

14. รายชื่อพัฒนาชุมชน (อช.)

15. รายชื่ออาสาสาธารณประจำชุมชน (อส.ม)
    1. ทองสุข เจริญยัง
    2. จำรัส เหมือนโพธิ์ทอง
    3. จงจิต ผ่องศรีพร
    4. วันเพ็ญ แต่งประวัติ
    5. นาตยา ทองพุ่ม

16. ในชุมชนมีสิ่งที่ทำให้สมาชิกในชุมชนมีความภาคภูมิใจอะไรบ้างเพราะอะไร
    ยังหาไม่เจอ

17. ชุมชนมีความต้องการหรือความคาดหวังในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง
    อยากให้ชุมชนมีพอกินพอใช้ไม่มีหนี้สิน

3. ข้อมูลแบบสอบถามของชุมชน
3.1. ส่วนที่ 1 ข้อมูลด้านประชากรของสมาชิกในครัวเรือน
3.1.1 ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนของชุมชนประกอบด้วย ข้อมูลรวมของสมาชิกในครัวเรือน ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็น
เพศชาย และข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเพศหญิง
ตารางที่ 1 แสดงจำนวนสมาชิกในครัวเรือน

ครัวเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนนี้มีสมาชิกประมาณ 1-5 คนต่อครัวเรือน
3.1.2 ข้อมูลส่วนบุคคลของสมาชิกในครัวเรือนทั้งหมด
ตารางที่ 2 ร้อยละของเพศชายและเพศหญิง

ประชากรประกอบด้วยเพศชาย ร้อยละ 46.3 เพศหญิงร้อยละ 53.4
ตาราง 3 ร้อยละของอายุประชากรในชุมชน

ชุมชนหมู่ 5 ทุ่งครุ ประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง 21-30 ปี
ตาราง 4 ระดับการศึกษา

ชุมชนหมู่ 5 ทุ่งครุ ประชากรส่วนใหญ่มีการศึกษาในระดับประถมศึกษา
ตาราง 5 การนับถือศาสนา

ชุมชนหมู่ 5 ทุ่งครุ ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ

ตาราง 6 รายได้ของคนในชุมชน

ชุมชนหมู่ 5 ทุ่งครุ ประชากรส่วนใหญ่มีรายได้อยู่ในช่วง 5001-10000 บาท
ตาราง 7 รายจ่ายของคนในชุมชน

ชุมชนหมู่ 5 ทุ่งครุ ประชากรส่วนใหญ่มีรายจ่ายอยู่ในช่วง 0-5000 บาท
ตาราง 8 อาชีพหลัก ของคนในชุมชน

ชุมชนหมู่ 5 ทุ่งครุ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพหลักคือ รับจ้าง
ตาราง 9 อาชีพเสริม ของคนในชุมชน

คนในชุมชนร่วมใจส่วนใหญ่ไม่ระบุอาชีพเสริม
ตาราง 10 โรคประจำตัวของคนในชุมชน

โรคประจำตัว ของคนในชุมชนหมู่ 5 ทุ่งครุ ได้แก่ ความดันโลหิต
3.1.3 ตารางที่ 11 สถานะภาพครอบครัวในชุมชน

คนในชุมชนอยู่ด้วยกันประมาณ ร้อยละ 79.1
3.1.4 ข้อมูลความขัดแย้งหรือการทะเลาะกัน
ในครัวเรือน (ตารางที่ 12)

คนในชุมชนร้อยละ 37.2 ไม่ทะเลาะกัน
3.1.5 จำนวนข้อมูลผู้ว่างงานในครัวเรือน
(ตารางที่ 13)

ในครัวเรือนในชุมชนส่วนใหญ่มีคนว่างงานประมาณ 1 คน
3.1.6 ข้อมูลจำนวนผู้พิการในครัวเรือน
(ตารางที่ 14)

มีอยู่ประมาณ 9 ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็นร้อยละ 10.5 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.7 ข้อมูลจำนวนผู้ติดสุราในครัวเรือน
(ตารางที่ 15)

มีผู้ติดสุรา 1คนคิดเป็นร้อยละ 17.4 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.8 ข้อมูลจำนวนผู้ติดบุหรี่ในครัวเรือน
(ตารางที่ 16)
มีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คนคิดเป็นร้อยละ27.6 ของครัวเรือนทั้งหมด

33.1.9 ข้อมูลการเล่นการพนันในครัวเรือนประกอบด้วย การเล่นการพนันของสมาชิกใน
ครัวเรือน และข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่เล่นการพนัน

ข้อมูลการเล่นพนันของสมาชิกในครัวเรือน
(ตารางที่ 17)

ร้อยละ 27.9 ของครัวเรือนทั้งหมด เล่นการพนัน
ข้อมูลจำนวนสมาชิกที่เล่นการพนันในครัวเรือน (ตารางที่ 18)

มีผู้เล่นการพนัน 1-2 คน 18 ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 20.9 ของครัวเรือนทั้งหมด

    3.1.10ข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกในครัวเรือน ประกอบด้วย ข้อมูล
การซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกในครัวเรือน ข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่
ซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล และข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล

ข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกในครัวเรือน (ตารางที่ 19)

ร้อยละ 54.7 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล
ข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล (ตารางที่ 20)

ร้อยละ 30.2 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล ส่วนใหญ่จะซื่อประมาณ 1คนในครอบครัว
ข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล(ตารางที่ 21)

ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 2
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าน้ำ ค่าไฟ และค่าโทรศัพท์ของครัวเรือน
(ตารางที่ 24)

ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 4
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าการศึกษาของบุตร (ตารางที่ 25)

ค่าเล่าเรียนบุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 4
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเดินทาง (ตารางที่ 26)

ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้ความสำคัญอันดับ 5
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าของใช้ในครัวเรือน (เช่น สบู่ แชมพูผงซักฟอก เครื่องใช้ไฟฟ้า ฯลฯ)
(ตารางที่ 27)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่ แชมพู ผงซักฟอกเครื่องใช้ไฟฟ้า มีความสำคัญอันดับ 4
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัว (เช่น เสื้อผ้า กระเป๋ารองเท้า ฯลฯ)

(ตารางที่ 28)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัวให้ความสำคัญอันดับ 6
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาล (ตารางที่ 29)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้ความสำคัญอันดับ 7
    3.1.12 ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือนประกอบด้วย ข้อมูลการออมเงิน และข้อมูลจำนวนเงินออม
ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน (ตารางที่ 30)

มีการออมเงินร้อยละ 37.2 ของครัวเรือนทั้งหมด
ข้อมูลจำนวนเงินออมในครัวเรือน
(ตารางที่ 34)

ร้อยละ4.7 ของครัวเรือนมีเงินออม 50000 บาทต่อครัวเรือน
    3.1.13 ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือนประกอบด้วย ข้อมูลการมีหนี้สิน และข้อมูลจำนวนหนี้สิน
ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน (ตารางที่ 32)

ร้อยละ 48.8 ของครัวเรือนมีหนี้สิน
ข้อมูลจำนวนหนี้สินในครัวเรือน
(ตารางที่ 36)

ส่วนใหญ่เป็นเจ้าของร้อยละ 60.5
จำนวนพื้นที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 37)

ชุมชนส่วนใหญ่มีพื้นที่อาศัยอยู่ประมาณ 21-40 ตรว.
3.2.4 ลักษณะของที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 41)

ส่วนใหญ่อาศัยแบบบ้านเดี่ยวชั้นเดียวร้อยละ 54.7

    3.2.5 บริเวณที่อยู่อาศัยของท่านมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินหรือไม่
(ตารางที่ 39)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 66.3 เห็นว่ามีความปลอดภัยในระดับปานกลาง
    3.2.6 ครัวเรือนของท่านถูกรบกวนจากภาวะต่าง ๆ หรือไม่ถูกรบกวนจากขยะ (ตารางที่ 40)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 33.7 เห็นว่าถูกรบกวนจากขยะในระดับน้อยและปานกลาง
ถูกรบกวนจากน้ำเน่าเสีย (ตารางที่ 44)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 40.7 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำเสียในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากน้ำท่วม (ตารางที่ 42)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 38.4 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำท่วมในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากเสียงดัง (ตารางที่ 43)

.

ส่วนใหญ่ร้อยละ 27.9 เห็นว่าถูกรบกวนจากเสียงดังในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากการจราจรติดขัด (ตารางที่ 44)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 23.3 เห็นว่าถูกรบกวนจากจราจรติดขัดในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากฝุ่นควันและก๊าซพิษ (ตารางที่ 45)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 37.2 มีปัญหาในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากด้านอื่น ๆ (ตารางที่ 46)

ส่วนใหญ่ ไม่ตอบว่าถูกรบกวนจากสิ่งอื่นๆ

    3.2.7 ในรอบปีที่ผ่านมาครัวเรือนของท่าน
ได้รับการช่วยเหลือหรือการสนับสนุน ด้านใดบ้างและจากหน่วยงานใด (เช่น) ค่าเล่าเรียนบุตร การส่งเสริมอาชีพ การพ่นหมอกควันกำจัดยุง (ตารางที่ 47)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 67.4 ได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆ

    3.3 ส่วนที่ 3 ข้อมูลด้านการเป็นสมาชิกกลุ่มหรือการร่วมทำกิจกรรมที่ได้รับการส่งเสริม
    3.3.1 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านสุขภาพ
กิจกรรมออกกำลังกายผู้สูงอายุ (ตารางที่ 48)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68.6 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมสุขภาพ
เยาวชนรักกีฬา (ตารางที่ 49)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 70.9 ไม่มีกิจกรรมเยาวชนรักกีฬา
เต้นแอโรบิค (ตารางที่ 50)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 67.4 ไม่มีกิจกรรมเต้นแอโรบิค
งดสูบบุหรี่ (ตารางที่ 51)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 65.1 ไม่มีกิจกรรมงดสูบบุหรี่
ต่อต้านยาเสพติด (ตารางที่ 52)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60.5 ระบุการ ไม่มีกิจกรรม
ต่อต้านยาเสพติด

ป้องกันอุบัติเหตุ (ตารางที่ 53)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 64.0 ระบุการไม่มีกิจกรรมป้องกันอุบัติเหตุ
ควบคุมเบาหวาน (ตารางที่ 54)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 58.1 ระบุการ ไม่มีกิจกรรมควบคุมเบาหวาน
ควบคุมความดันโลหิต (ตารางที่ 55)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 57.0 ระบุไม่มีกิจกรรม
ควบคุมความดันโลหิต

ควบคุมไข้เลือดออก (ตารางที่ 56)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 43.0 ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมควบคุมไข้เลือดออก
ตรวจมะเร็งปากมดลูก (ตารางที่ 57)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 65.1ระบุการ ไม่มีกิจกรรมตรวจมะเร็งปากมดลูก
ตรวจมะเร็งเต้านม (ตารางที่ 58)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 61.6 ระบุไมมีกิจกรรม
ควบคุมมะเร็งเต้านม

    3.3.2 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านอาชีพ
ฝึกอาชีพเสริม (ตารางที่ 59)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 67.4 ระบุไม่มีกิจกรรมฝึกอาชีพเสริม
ส่งเสริมการท่องเที่ยว (ตารางที่ 60)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 70.9 ระบุไม่มีกิจกรรม ส่งเสริมการท่องเที่ยว
ส่งเสริมรายได้เด็ก (ตารางที่ 61)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.1 ไม่มีกิจกรรมเสริมรายเด็ก

กิจกรรมชีวิตพอเพียง (ตารางที่ 62)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68.6 ไม่มีกิจกรรมชีวิตพอเพียง
กลุ่มแม่บ้าน (ตารางที่ 63)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 38.4 ไม่มีกิจกรรมกลุ่ม
แม่บ้านOTOP (ตารางที่ 64)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 67.4 ไม่มีกิจกรรมOTOP
    3.3.3 ข้อมูลด้านการออมทรัพย์
การทำบัญชีครัวเรือน (ตารางที่ 65)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 34.9 ตอบว่าไม่ระบุการทำบัญชีครัวเรือน
กองทุนหมู่บ้าน (ตารางที่ 66)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 64.0 ไม่มีกิจกรรมกองทุนหมู่บ้าน
กลุ่มณาปนกิจ (ตารางที่ 67)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 70.9 ไม่มีกิจกรรมกลุ่มฌาปนกิจ
กลุ่มออมทรัพย์ (ตารางที่ 68)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 69.8 ไม่มีกิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์
กองทุนอาชีพ (ตารางที่ 69)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 69.8 ไม่มีกิจกรรมกองทุนอาชีพ
ร้านค้าชุมชน (ตารางที่ 70)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 70.9 ไม่มีกิจกรรมร้านค้าชุมชน
ออมทรัพย์อื่นๆ (ตารางที่ 71)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 48.8 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ออมทรัพย์อื่นๆในชุมชน

    3.3.4 ข้อมูลด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
อนุรักษ์ศิลปะ (ตารางที่ 72)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 50.0 ไม่มีกิจกรรมกลุ่มอนุรักษ์ศิลปะ
การทำบุญตักบาตร (ตารางที่ 73)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 46.5 เข้าร่วมกิจกรรมทำบุญตักบาตร
วันปีใหม่สงกรานต์ (ตารางที่ 74)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 54.7 ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมปีใหม่สงกรานต์

การส่งเสริมศิลปะ (ตารางที่ 75)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 37.2 ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมศิลปะ
ศาสนพิธี (ตารางที่ 76)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 39.5 ไม่มีกิจกรรมศาสนพิธี
พิธีอื่นๆ (ตารางที่ 77)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 54.7 ไม่ตอบว่าเข้าร่วมพิธีอื่น

    3.3.5 ข้อมูลด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม
ป้องกันยาเสพติด (ตารางที่ 78)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 48.8 ไม่มีกิจกรรมป้องกันยาเสพติด
กลุ่มผู้สูงอายุ (ตารางที่ 79)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 61.6 ไม่มีกิจกรรมกลุ่มผู้สูงอายุ
กิจกรรมเยาวชน (ตารางที่ 80)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 65.1 ไม่มีกิจกรรมเยาวชน

ป้องกันขโมย (ตารางที่ 81)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 69.8 ไม่มีกิจกรรมป้องกันขโมย
กิจกรรมห่วงใยวัย70 (ตารางที่ 82)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68.6 ไม่มีกิจกรรมห่วงใยวัย70
ส่งเสริมสถาบันครอบครัว (ตารางที่ 83)

ส่วนใหญ่ร้อยละ67.4 ไม่มีกิจกรรมส่งเสริม
สถาบันครอบครัว

กิจกรรมสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส(ตารางที่ 84)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 65.1 ไม่มีกิจกรรมสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส/ผู้พิการ
กองทุนพัฒนาชุมชน (ตารางที่ 85)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 64.0 ไม่มีกิจกรรมกองทุนพัฒนาชุมชน
กองทุนผู้สูงอายุ (ตารางที่ 86)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 61.6 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกองทุนผู้สูงอายุ
   3.3.6 ข้อมูลด้านการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อม ระวังคุณภาพน้ำ (ตารางที่ 87)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68.6 ไม่มีกิจกรรมระวังคุณภาพน้ำ
ชุมชนน่าอยู่ (ตารางที่ 88)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68.6 ไม่มีกิจกรรมชุมชนน่าอยู่
เก็บขยะในชุมชน (ตารางที่ 89)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 48.8 ไม่มีกิจกรรมเก็บขยะ
ในชุมชน
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (ตารางที่ 90)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 62.8 ไม่มีกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ขุดลอกคูคลอง (ตารางที่ 91)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 67.4 ไม่มีกิจกรรมขุดลอกคูคลอง
ปลูกต้นไม้ (ตารางที่ 92)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 65.1 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้
ซ่อมแซมสาธารณูปโภค (ตารางที่ 93)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 61.6 ไม่มีกิจกรรมซ่อมแซมสาธารณูปโภค
ทำความสะอาด (ตารางที่ 94)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 58.1 ไม่มีกิจกรรมทำความสะอาด
ทิ้งขยะในถัง (ตารางที่ 95)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 37.2 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมทิ้งขยะในถัง
อนุรักษ์อื่นๆ (ตารางที่ 96)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 50 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมอนุรักษ์อื่นๆ
    3.3.7 ข้อมูลด้านการเมืองการปกครองรณรงค์เลือกตั้ง (ตารางที่ 97)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 57.0 เข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์การเลือกตั้ง
อบรมความรู้การเมือง (ตารางที่ 98)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 54.7 ไม่มีกิจกรรมอบรมความรู้การเมือง
รณรงค์อื่นๆ (ตารางที่ 99)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 59.3 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมทางการเมืองอื่นๆ

สรุปข้อมูลจากการสำรวจโดยแบบสอบถามระหว่างวันที่ …..................
      จากการสำรวจโดยใช้แบบสอบถามจากครัวเรือนทั้งหมด 86 ครัวเรือนคิดเป็น 60
เปอร์เซนต์ของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชน ครัวเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนนี้มีสมาชิกประมาณ 1-5
คนต่อครัวเรือน ประชากรประกอบด้วยเพศชาย ร้อยละ 46.3 เพศหญิงร้อยละ 53.4 ชุมชนหมู่ 5 ทุ่ง
ครุ ประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง 21-30 ปี มีการศึกษาในระดับประถมศึกษานับถือศาสนา
พุทธมีรายได้อยู่ในช่วง 5001-10000 บาทรายจ่ายอยู่ในช่วง 0-5000 บาท ประกอบอาชีพหลักคือ
รับจ้างโรคประจำตัว ของคนในชุมชนหมู่ 5 ทุ่งครุ ได้แก่ ความดันโลหิตคน ในชุมชนครอบครัวอยู่
ด้วยกันประมาณ ร้อยละ 79.1ร้อยละ 37.2 ไม่ทะเลาะกันมีอยู่ประมาณ 9 ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็น
ร้อยละ 10.5 ของครัวเรือนทั้งหมด มีผู้ติดสุรา 1คนคิดเป็นร้อยละ 17.4 ของครัวเรือนทั้งหมดมีผู้ติด
บุหรี่อย่างน้อย 1 คนคิดเป็นร้อยละ 27.6 ของครัวเรือนทั้งหมด ร้อยละ 27.9 ของครัวเรือนทั้งหมด
เล่นการพนันมีผู้เล่นการพนัน 1-2 คน 18 ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 20.9 ของครัวเรือนทั้งหมด ร้อย
ละ 54.7 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล ร้อยละ 30.2 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลาก
กินแบ่งรัฐบาล ส่วนใหญ่จะซื้อประมาณ 1 คนในครอบครัวส่วนใหญ่ใช้เงินซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล
เดือนละ 200 บาทค่าใช้จ่ายด้านอาหารเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 1 ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อน
บ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 2 ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 4
ค่าเล่าเรียนบุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 4 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้
ความสำคัญอันดับ 5 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่ แชมพู ผงซักฟอก เครื่องใช้ไฟฟ้า มีความสำคัญอันดับ 4
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัวให้ความสำคัญอันดับ 6 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้
ความสำคัญอันดับ 7 มีการออมเงินร้อยละ 37.2 ของครัวเรือนทั้งหมด ร้อยละ4.7 ของครัวเรือนมี
เงินออม 50000 บาทต่อครัวเรือน ร้อยละ 48.8 ของครัวเรือนมีหนี้สิน ร้อยละ 43.0 ของครัวเรือนไม่มีหนี้สิน ร้อยละ 80 ไม่มีครอบครัวใดที่ทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย

      ด้านที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมของครัวเรือน คนในชุมชนส่วนใหญ่อาศัยอยู่ประมาณ
10-20 ปี ส่วนใหญ่เป็นเจ้าของร้อยละ 60.5 ชุมชนส่วนใหญ่มีพื้นที่อาศัยอยู่ประมาณ 21-40 ตรว.
อาศัยแบบบ้านเดี่ยวชั้นเดียวร้อยละ 54.7 ร้อยละ 66.3 เห็นว่ามีความปลอดภัยในระดับปานกลาง
ร้อยละ 33.7 เห็นว่าถูกรบกวนจากขยะในระดับน้อยและปานกลางร้อยละ 40.7 เห็นว่าถูกรบกวน
จากน้ำเสียในระดับปานกลาง ร้อยละ 38.4 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำท่วมในระดับน้อยร้อยละ 27.9
เห็นว่าถูกรบกวนจากเสียงดังในระดับน้อย ร้อยละ 23.3 เห็นว่าถูกรบกวนจากจราจรติดขัดในระดับ
ปานกลาง ร้อยละ 37.2 มีปัญหาในระดับน้อยไม่ตอบว่าถูกรบกวนจากสิ่งอื่นๆร้อยละ 67.4 ได้รับ
ความช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆ

      ในด้านการเข้าร่วมกิจกรรมส่วนใหญ่ร้อยละ 68.6 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมสุขภาพร้อย
ละ 70.9 ไม่มีกิจกรรมเยาวชนรักกีฬาร้อยละ 67.4 ไม่มีกิจกรรมเต้นแอโรบิคร้อยละ 65.1 ไม่มี
กิจกรรมงดสูบบุหรี่ร้อยละ 60.5 ระบุการไม่มีกิจกรรมต่อต้านยาเสพติดร้อยละ 64.0 ระบุการไม่มี
กิจกรรมป้องกันอุบัติเหตุร้อยละ 58.1 ระบุการ ไม่มีกิจกรรมควบคุมเบาหวานร้อยละ 57.0 ระบุไม่
มีกิจกรรมควบคุมความดันโลหิตร้อยละ 43.0 ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมควบคุมไข้เลือดออกร้อยละ
65.1 ระบุการ ไม่มีกิจกรรมตรวจมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 61.6 ระบุไมมีกิจกรรมควบคุมมะเร็งเต้า
นมร้อยละ 67.4 ระบุไม่มีกิจกรรมฝึกอาชีพเสริมร้อยละ 70.9 ระบุไม่มีกิจกรรมส่งเสริมการ
ท่องเที่ยวร้อยละ 72.1 ไม่มีกิจกรรมเสริมรายเด็กร้อยละ 68.6 ไม่มีกิจกรรมชีวิตพอเพียงร้อยละ
38.4 ไม่มีกิจกรรมกลุ่มแม่บ้านร้อยละ 67.4 ไม่มีกิจกรรมOTOPร้อยละ 34.9 ตอบว่าไม่ระบุการทำ
บัญชีครัวเรือนร้อยละ 64.0 ไม่มีกิจกรรมกองทุนหมู่บ้านร้อยละ 70.9 ไม่มีกิจกรรมกลุ่มฌาปนกิจ
ร้อยละ 69.8 ไม่มีกิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์ร้อยละ 69.8 ไม่มีกิจกรรมกองทุนอาชีพร้อยละ 70.9 ไม่มี
กิจกรรมร้านค้าชุมชนร้อยละ 48.8 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมออมทรัพย์อื่นๆในชุมชนร้อยละ 50.0 ไม่มี
กิจกรรมกลุ่มอนุรักษ์ศิลปะร้อยละ 46.5 เข้าร่วมกิจกรรมทำบุญตักบาตรร้อยละ 54.7 ระบุการเข้า
ร่วมกิจกรรมปีใหม่สงกรานต์ร้อยละ 37.2 ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมศิลปะร้อยละ 39.5 ไม่มี
กิจกรรมศาสนพิธีร้อยละ 54.7 ไม่ตอบว่าเข้าร่วมพิธีอื่นร้อยละ 48.8 ไม่มีกิจกรรมป้องกันยาเสพติด
ร้อยละ 61.6 ไม่มีกิจกรรมกลุ่มผู้สูงอายุร้อยละ 65.1 ไม่มีกิจกรรมเยาวชนร้อยละ 69.8 ไม่มี
กิจกรรมป้องกันขโมยร้อยละ 68.6 ไม่มีกิจกรรมห่วงใยวัย7จร้อยละ67.4 ไม่มีกิจกรรมส่งเสริม
สถาบันครอบครัวร้อยละ 65.1 ไม่มีกิจกรรมสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส/ผู้พิการร้อยละ 64.0 ไม่มี
กิจกรรมกองทุนพัฒนาชุมชนร้อยละ 61.6 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกองทุนผู้สูงอายุร้อยละ 68.6
ไม่มีกิจกรรมระวังคุณภาพน้ำร้อยละ 68.6 ไม่มีกิจกรรมชุมชนน่าอยู่ร้อยละ 48.8 ไม่มีกิจกรรมเก็บ
ขยะในชุมชนร้อยละ 62.8 ไม่มีกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมร้อยละ 67.4 ไม่มีกิจกรรมขุดลอกคู
คลองร้อยละ 65.1 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้ร้อยละ 61.6 ไม่มีกิจกรรมซ่อมแซม
สาธารณูปโภคร้อยละ 58.1 ไม่มีกิจกรรมทำความสะอาดร้อยละ 37.2 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมทิ้ง
ขยะในถังร้อยละ 50 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมอนุรักษ์อื่นๆร้อยละ 57.0 เข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์
การเลือกตั้งร้อยละ 54.7 ไม่มีกิจกรรมอบรมความรู้การเมืองร้อยละ 59.3 ไม่ระบุการเข้าร่วกิจกรรม
ทางการเมืองอื่นๆ