ชุมชนประชาอุทิศ 76
ชุมชน ประชาอุทิศ 76 แขวง บางมด เขตทุ่งครุ จังหวัด กรุงเทพมหานครฯ
1. ข้อมูลพื้นฐานของชุมชน
1.1 ประวัติและความเป็นมาของชุมชน
    สำหรับชุมชนอาคารสงเคราะห์ข้าราชการและลูกจ้างกรุงเทพฯ ซอยประชาอุทิศ 76 เป็นชื่อ
ที่ใช้ในปัจจุบัน แต่ในอดีตนั้นพื้นที่บริเวณนี้เรียกกันว่า วัดทุ่งครุ ตามชื่อพื้นที่ โดยเริ่มก่อตั้งมา
ประมาณ 80 ปีมาแล้ว เป็นชุมชนดั้งเดิม ในอดีตเนื่อที่ในบริเวณนี้มีแต่ทุ่งนา บริเวณรอบ ๆ จะมีป่า
จาก อยู่ในบริเวณพื้นที่แห่งนี้ ปัจจุบันป่าและหนองน้ำไม่มีให้เห็นอีกเพราะเกิดจากการเข้ามาของ
ส่วนราชการคือ การสร้างถนนและสาธารณูปโภคต่าง ๆ รวมทั้งโรงงานอุตสาหกรรมที่เข้ามาตั้งใน
พื้นที่ จึงทำให้สภาพในอดีตไม่เหลือให้เห็น อาชีพในอดีตส่วนใหญ่ของคนในชุมชน คือ ทำนา ทำ
สวนมะพร้าว และตับจากเพื่อมุงหลังคาส่งขายตามที่ต่าง ๆ หรือพ่อค้ามารับไปจำหน่ายเอง
ตั้งแต่เริ่มตั้งหมู่บ้านจนถึงปัจจุบันนี้ชาวบ้านมีการเปลี่ยนแปลงอาชีพคือ
    1. การทำนา เลิกไปเพราะที่ดินไม่เหมาะสมแก่การเพาะปลูก ดินเค็มและน้ำท่วม
    2. ทำสวน เลิกไปเพราะพื้นที่ทำกินถูกนายทุนเข้ามาซื้อเพื่อสร้างหมู่บ้านจัดสรรและ
โรงงาน
อาชีพใหม่ที่เกิดขึ้นคือ
    1. รับจ้าง
    2. ค้าขาย
    3. ประกอบธุรกิจส่วนตัว
    4. กิจการบ้านเช่า
    5. รับราชการ
1.2 สภาพปัจจุบัน ประชากรทั้งหมด 321 คน ชาย 154 คน หญิง 162 คน
ในหมู่บ้าน/ชุมชนมีครัวเรือน158 ครอบครัว มีบ้าน 140 หลังคาเรือน
1.3 วัฒนธรรมประเพณี มีการทำบุญประเพณี
เดือนมกราคม ทำบุญวันขึ้นปีใหม่
เดือนกุมภาพันธ์ ทำบุญประเพณีวันมาฆบูชา
เดือนเมษายน ทำบุญประเพณีวันสงกรานต์
เดือนพฤษภาคม ทำบุญประเพณีวันวิสาขบูชา
เดือนกรกฏาคม ทำบุญประเพณีวันอาสาฬหบูชา และวันเข้าพรรษา
เดือนสิงหาคม ทำบุญประเพณีวันเฉลิมพระชนพรรษา สิบสองสิงหาคม
เดือนตุลาคม ทำบุญประเพณีวันออกพรรษา และวันปิยะมหาราช
เดือนธันวาคม ทำบุญประเพณีวันเฉลิมพรรษา 5 ธันวาคม
โครงสร้างพื้นฐานชุมชน ในปัจจุบัน ชุมชนเริ่มเข้าไปพัฒนาเมื่อปี 2545 ในปัจจุบันชุมชน
อาคารสงเคราะห์และข้าราชการและลูกจ้างกรุงเทพฯ ซอยประชาอุทิศ 76 ได้รับการบริการทางด้าน
สาธารณูโภค ทั้งไฟฟ้า น้ำประปา โทรศัพท์ และถนนหนทางอย่างเพรียบพร้อม แต่ปรากฏว่าความ
เจริญเหล่านั้นทำให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมามากมายในลักษณะของชุมชนกึ่งเมืองได้แก่ ความ
แตกต่างด้านรายได้ จากการที่ที่ดินในพื้นที่มีราคาสูงขึ้นอย่างรวดเร็วทำให้ประชาชนที่ตั้งถิ่นฐานอยู่
เดิมมีฐานะร่ำรวยขึ้นอย่างรวดเร็วจากการขายที่ดินและการประกอบการบ้านเช่า ส่วนประชาชนที่
อพยพเข้ามาพักอาศัย จะมีการประกอบอาชีพค้าขายและเป็นลูกจ้างในโรงงานอุตสาหกรรม
1.4 ปัญหาสำคัญภายในชุมชนมีดังนี้
    1. ปัญหาคุณภาพของสิ่งแวดล้อมลดลงจนถึงขั้นเสื่อมโทรม
    2. ปัญหาขยะมูลฝอยมีปริมาณมาก
1.5 การทำงานร่วมกับหน่วยงานภายนอกชุมชนทั้งภาครัฐและเอกชน
    1) การทำงานร่วมกับสำนักงานเขตทุ่งครุ เช่นเข้ามาจัดอบรมและให้ความรู้ต่าง ๆ
ภายในชุมชน
    2) การทำงานร่วมกับสาธารณสุขเขตทุ่งครุ เช่น เข้ามาดูแลเรื่องสุขภาพและบริการ
ด้านสุขภาพต่าง ๆ
1.6 แผนที่ชุมชน

1.7 ภาพสภาพแวดล้อมของชุมชน

2. ข้อมูลแบบสัมภาษณ์ของคณะกรรมการชุมชน
ชื่อชุมชน ชุมชนอาคารสงเคราะห์ (ประชาอุทิศ76)
ชื่อผู้ให้สัมภาษณ์ นายเฉลียว เฝื่อชาติ ตำแหน่ง/หน้าที่ ประธานชุมชน
    1. ที่ตั้งของชุมชน 124 และ 125 ม.5 ซอยประชาอุทิศ 76 แขวงทุ่งครุ เขตทุ่งครุ กรุงเทพฯ
    2. อาณาเขตติดต่อ
      - ทิศเหนือติดกับ ถนนซอยประชาอุทิศ 76
      - ทิศตะวันออกติดกับ ที่พักคนงานฝ่ายรักษาฯ
      - ทิศใต้ติดกับ หมู่บ้าน
      - ทิศตะวันตกติดกับ หมู่บ้าน
    3. คณะกรรมการชุมชนมีบทบาทในการพัฒนาหรือการปกครองชุมชนอย่างไรบ้าง
      - เป็นคนประสานกับประชาชนให้ไปสู่ การพัฒนา
      - เป็นสื่อกลางในการรับฟังปัญหาเพื่อเป้าหมายในการพัฒนา
    4. ภายในชุมชนมีสถานที่สำคัญอะไรบ้างและมีความเป็นมาอย่างไร
      - ไม่มี
    5. ชุมชนมีกฎระเบียบหรือข้อบังคับในการอยู่ร่วมกันภายในชุมชนอย่างไรบ้าง
      - กฎระเบียบหรือข้อบังคับ ใช้ระบบวินัยข้าราชการเป็นการบังคับ เช่น ห้ามเล่น
การพนัน ห้ามดื่มเหล้า ห้ามส่งเสียงรบกวนเพื่อนข้างห้อง ห้ามทะเลาะวิวาท
    6. ชุมชนมีนโยบายหรือแผนในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง
      -
    7. ในชุมชนมีปัญหาอะไรบ้าง
      - ปัญหาด้านสังคม
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาทะเลาะกัน, ปัญหาการหย่าร้าง, ปัญหา
ความขัดแย้งภายในชุมชน
      - ปัญหาด้านเศรษฐกิจ
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาหนี้นอกระบบ, ปัญหาหนี้ในระบบ,
ปัญหารายได้น้อย
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาคนว่างงาน, ปัญหาการขาดโอกาสในการ
ประกอบอาชีพใหม่, ปัญหาในการขาดโอกาสในการพัฒนาฝีมือ
      - ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการจราจรที่หนาแน่น, ปัญหา
น้ำประปาไม่มีคุณภาพ, ปัญหาการสื่อสารและโทรคมนาคม
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการจราจรที่มักเกิดอุบัติเหตุ, ปัญหาการ
ขยายเครือข่ายของการไฟฟ้าที่ไม่ทั่วถึง
      - ปัญหาด้านสารธารณสุข
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ขาดแคลนสถานที่ออกกำลังกาย
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง การแพร่ระบาดของโรคที่มีสัตว์นำโรค,
ปัญหาการติดสุรา, ปัญหาการติดบุหรี่
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ชุมชนอยู่ห่างจากสถานที่พยาบาล, ขาดแคลน
อาสาสมัคร, ปัญหาโภชนาการเด็ก, ความเสี่ยงในการติดโรคทาง
เพศสัมพันธ์, ปัญหาจากอุบัติเหตุบนท้องถนน
      - ปัญหาด้านการศึกษา
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการศึกษาในโรงเรียนขาดแคลน
งบประมาณ
      - ปัญหาด้านศาสนา
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ขาดความร่วมมืออุปถัมภ์ศาสนาในชุมชน, การ
กำหนดบทบาทและหน้าที่ของกรมการศาสนา
      - ปัญหาด้านประเพณีและวัฒนธรรม
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการขาดการสนับสนุนและทำนุบำรุงรักษา
ประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่น, การให้ความสำคัญกับความเชื่อ และการ
ปฏิบัติทางวัฒนธรรมประเพณี, ไม่มีการถ่ายทอดประเพณี และภูมิปัญญา
ให้แก่ลูกหลาน
      - ปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง
      - ปัญหาด้านการเมืองการบริหาร
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง คนในชุมชนขาดการมีส่วนร่วมในการเลือกตั้ง
ตามระบอบประชาธิปไตย, บุคลากรทางการเมืองในท้องถิ่นขาดความรู้
ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่, การขาดแคลนวัสดุอุปกรณ์ในการ
ปฏิบัติงานที่เพียงพอและมีประสิทธิภาพ, สถานที่ราชการที่จะให้บริการ
ต่อประชาชนคับแคบและไม่เพียงพอต่อความต้องการ, การให้บริการ
ข้อมูลข่าวสารและการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ยังไม่ทั่วถึง
    8. จงเรียงลำดับความสำคัญของปัญหาที่ชุมชนต้องแก้ไขเร่งด่วนมากที่สุด เพราะอะไร
      1. สนามกีฬา เพราะ เด็ก ๆ หรือวัยรุ่นไม่มีสถานที่เล่นกีฬาหรือสถานที่ออกกำลัง
กาย
      2. ปัญหาเรื่องที่จอดรถ เพราะ พื้นที่จำกัดขณะที่จำนวนรถยนต์เพิ่มขึ้น
    9. ในชุมชนมีกลุ่มกิจกรรมอะไรบ้างที่ทางราชการและเอกชนเข้ามาส่งเสริม
      - ด้านสุขภาพ
        มีกิจกรรมดังนี้ กิจกรรมรณรงค์ต่อต้านการแพร่ระบาดของยาเสพติดใน
ชุมชน, กิจกรรมรณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
      - ด้านอาชีพ
        มีกิจกรรม ดังนี้ การฝึกอบรมอาชีพเสริม
      - ด้านการออมทรัพย์
        ชุมชนอาคารสงเคราะห์ประชาอุทิศ 76 ไม่มีกิจกรรมด้านการออมทรัพย์
      - ด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
        มีกิจกรรม ดังนี้ การทำบุญตักบาตร, กิจกรรมวันปีใหม่และวันสงกรานต์
      - ด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม
        มีกิจกรรม ดังนี้ การป้องกันยาเสพติด, การเลี้ยงดูผู้พิการ
      - ด้านการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อม
        มีกิจกรรม ดังนี้ การประกวดชุมชนน่าอยู่
      - ด้านการเมืองการปกครอง
        มีกิจกรรม ดังนี้ รณรงค์ให้ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งทุก ๆ ครั้งที่มีการเลือกตั้ง,
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเมือง
    10. ชุมชนมีโครงการในการพัฒนาชุมชนอะไรบ้างและแต่ละโครงการมีกิจกรรมอย่างไร
      1. กิจกรรม 12 สิงหาวันแม่ วัตถุประสงค์ เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วม สถานที่จัด
ภายในชุมชนอาคารสงเคราะห์ ระยะเวลา 1 วัน
      2. กิจกรรม 5 ธันวามหาราช วัตถุประสงค์ เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วม สถานที่จัด
ภายในชุมชนอาคารสงเคราะห์ ระยะเวลา 1 วัน
      3. กิจกรรมวันเด็ก วัตถุประสงค์ เพื่อให้เด็กแสดงออก สถานที่จัดภายในชุมชน
อาคารสงเคราะห์ ระยะเวลา 1 วัน
      4. โครงการปรับภูมิทัศน์ เพื่อปลูกไม้ประดับจัดสวนหย่อมบริเวณรอบกำแพง
สถานที่จัดภายในชุมชนอาคารสงเคราะห์ ระยะเวลา 5 วัน
    11. คนดีและเก่งที่เป็นกำลังสำคัญในชุมชน
      - ด้านการทำอาหาร
      - ด้านการช่าง
      - ด้านการเกษตร
      - ด้านศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม (ทุกศาสนาที่มีอยู่ในชุมชน)
      - ด้านการแพทย์แผนไทย
      - ด้านการประดิษฐ์
      - ด้านอื่น ๆ
    12. ในชุมชนมีจุดอ่อนจุดแข็งอะไรบ้าง
      จุดแข็ง - บริเวณอาณาเขตมีแนวรั้วกำแพงกั้นแบ่งอาณาเขตชัดเจน
        - การตรวจการเข้า-ออก ของผู้ที่เข้ามาง่าย และสะดวก เพราะมีประตู เข้า-
ออก ทางเดียว
        - ป้องกันการขโมยจากบุคลภายนอกได้ดี
        - บรรยากาศบริสุทธิ์ เพราะห่างไกลโรงงาน
      จุดอ่อน - พื้นที่คับแคบ สถานที่พักผ่อนน้อย
        - ไม่สะดวกในการติดต่อ
        - ถ้าเกิดไฟไหม้จะมีปัญหาเรื่องที่พักคับแคบ
    13. รายชื่อคณะกรรมการหมู่บ้าน
      1. นายเฉลียว เผื่อชาติ ตำแหน่ง ประธาน
      2. นายนิสูจน์ ชูเชาว์ ตำแหน่ง รองประธาน
      3. นายสำเร็จ แสงสุข ตำแหน่ง รองประธาน
      4. นายเอกชัย กิจกำเถลิงพรรณ ตำแหน่ง ทะเบียน
      5. นางลัดดา กลัดมี ตำแหน่ง เลขานุการ
      6. นายนงค์สุระ นนสุวรรณ ตำแหน่ง ประชาสัมพันธ์
      7. นายสมชาย เปรมปรี ตำแหน่ง เหรัญญิก
      8. นางวิไล เพชรจันทร์ ตำแหน่ง ปฏิคม
    14. รายชื่อพัฒนาชุมชน (อช.)
    15. รายชื่ออาสาสาธารณประจำชุมชน (อส.ม)
    16. ในชุมชนมีสิ่งที่ทำให้สมาชิกในชุมชนมีความภาคภูมิใจอะไรบ้างเพราะอะไร
      - การร่วมมือร่วมใจกันในการพัฒนา
      - การช่วยเหลือ เอื้อเฟื้อซึ่งกันและกัน
      - การจัดวันเด็ก
      - การจัดงาน 12 สิงหาคม
      - การจัดงาน 5 ธันวาคม
    17. ชุมชนมีความต้องการหรือความคาดหวังในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง
ชุมชนเป็นสถานที่ราชการ

 

3. ข้อมูลแบบสอบถามของชุมชน
3.1. ส่วนที่ 1 ข้อมูลด้านประชากรของสมาชิกในครัวเรือน
3.1.1 ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนของชุมชน ประกอบด้วย ข้อมูลรวมของสมาชิกในครัวเรือน
ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเพศชาย และข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเพศหญิง
ตาราง 1 แสดงร้อยละของครัวเรือนที่มีสมาชิก
1-7 คน

ครัวเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนนี้มีสมาชิก
ประมาณ 2-3 คนต่อครัวเรือน
3.1.2 ข้อมูลส่วนบุคคลของสมาชิกในครัวเรือน
ทั้งหมด
ตาราง 2 ร้อยละของเพศชายและเพศหญิง

ชุมชนร่วมใจพัฒนาประชากรประกอบด้วยเพศ
ชาย ร้อยละ 48.9 เพศหญิงร้อยละ 47.5 และไม่
ตอบร้อยละ 3.6
ตาราง 3 ร้อยละของอายุประชากรในชุมชน

ชุมชนร่วมใจพัฒนาประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่
ในช่วง 41-50 ปี ร้อยละ 22.9 มีเด็กอายุอยู่ในช่วง
11-20 ปีร้อยละ 21.07 และผู้สูงอายุร้อยละ 1
ตาราง 4 ระดับการศึกษา

ชุมชนร่วมใจพัฒนาประชากรส่วนใหญ่มี
การศึกษาในระดับประถมศึกษา
จำนวนสมาชิก จำนวน ร้อยละ
ตาราง 5 การนับถือศาสนา

ชุมชนร่วมใจพัฒนาประชากรส่วนใหญ่นับถือ
ศาสนาพุทธ
ตาราง 6 รายได้ของคนในชุมชน

ชุมชนร่วมใจพัฒนาประชากรส่วนใหญ่มีรายได้
อยู่ในช่วง 1001-15000 บาท
ตาราง 7 รายจ่ายของคนในชุมชน

ชุมชนร่วมใจพัฒนาประชากรส่วนใหญ่มี
รายจ่ายอยู่ในช่วง 5001 – 10000 บาท
ตาราง 8 อาชีพหลัก ของคนในชุมชน

ชุมชนร่วมใจพัฒนาประชากรส่วนใหญ่
ประกอบอาชีพหลักคือ รับราชการ
ตาราง 9 อาชีพเสริม ของคนในชุมชน

คนในชุมชนร่วมใจส่วนใหญ่ร้อยละ 92.76 ไม่มี
อาชีพเสริม
ตาราง 10 โรคประจำตัวของคนในชุมชน

โรคประจำตัว ของคนในชุมชนประชาอุทิศ 76
ได้แก่ หอบหืด ความดันโลหิต เบาหวาน ภูมิแพ้
หัวใจ กระเพาะ
3.1.3 สถานะภาพครอบครัวในชุมชน
ตารางที่ 11 สถานะภาพครอบครัวในชุมชน

คนในชุมชนอยู่ด้วยกันร้อยละ 59.4
3.1.4 ข้อมูลความขัดแย้งหรือการทะเลาะกันใน
ครัวเรือน (ตารางที่ 12)

คนในชุมชนร่วมใจพัฒนาร้อยละ 43.5 ไม่
ทะเลาะกัน
3.1.5 จำนวนข้อมูลผู้ว่างงานในครัวเรือน
(ตารางที่ 13)

ในครัวเรือนในชุมชนส่วนใหญ่มีคนว่างงาน
ประมาณ 1-2 คน
3.1.6 ข้อมูลจำนวนผู้พิการในครัวเรือน
(ตารางที่ 14)

มีอยู่ประมาณ 3 ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็นร้อย
ละ 4.3 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.7 ข้อมูลจำนวนผู้ติดสุราในครัวเรือน
(ตารางที่ 15)

มีผู้ติดสุรา 1 คนคิดเป็นร้อยละ 8.7 ของครัวเรือน
ทั้งหมด
3.1.8 ข้อมูลจำนวนผู้ติดบุหรี่ในครัวเรือน
(ตารางที่ 16)

มีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คนคิดเป็นร้อยละ 20.3
ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.9 ข้อมูลการเล่นการพนันในครัวเรือน
ประกอบด้วย การเล่นการพนันของสมาชิกใน
ครัวเรือน และข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือน
ที่เล่นการพนัน
ข้อมูลการเล่นพนันของสมาชิกในครัวเรือน
(ตารางที่ 17)

มีเล่นการพนันคิดเป็นร้อยละ 17.4 ของ
ครัวเรือนทั้งหมด
ข้อมูลจำนวนสมาชิกที่เล่นการพนันในครัวเรือน
(ตารางที่ 18)

มีผู้เล่นการพนัน 3 คน 1 ครอบครัว คิดเป็นร้อย
ละ 8.7 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.10 ข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของ
สมาชิกในครัวเรือน ประกอบด้วย ข้อมูลการซื้อ
สลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกในครัวเรือน
ข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล และข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลาก
กินแบ่งรัฐบาล
ข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกใน
ครัวเรือน (ตารางที่ 19)

มีผู้ซื้อกลากกินแบ่งคิดเป็นร้อยละ 46.4 ของ
ครัวเรือนทั้งหมด
ข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล (ตารางที่ 20)

(ตารางที่ 19-20) ร้อยละ 20 ของครัวเรือน
ทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล ส่วนใหญ่จะซื่อ
ประมาณ 1 คนในครอบครัว
ข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล
(ตารางที่ 21)

ส่วนใหญ่ใช้เงินซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลเดือนละ
200 บาท
3.1.11 ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายของ
ครัวเรือน ประกอบด้วย ค่าอาหาร ค่าเช่าบ้าน
หรือผ่านบ้าน ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ค่า
การศึกษาบุตร ค่าเดินทาง ค่าเครื่องใช้ใน
ครัวเรือน ค่าเครื่องใช้ส่วนตัว และค่า
รักษาพยาบาล
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าอาหารของครัวเรือน (ตารางที่ 22)

ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 1
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านของครัวเรือน (ตารางที่
23)

ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 6
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
น้ำ ค่าไฟ และค่าโทรศัพท์ของครัวเรือน
(ตารางที่ 24)

ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ
อันดับ 5
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
การศึกษาของบุตร (ตารางที่ 25)

ค่าเล่าเรียนบุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ
อันดับ 2
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เดินทาง (ตารางที่ 26)

ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้
ความสำคัญอันดับ 2
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
ของใช้ในครัวเรือน (เช่น สบู่ แชมพู ผงซักฟอก
เครื่องใช้ไฟฟ้า ฯลฯ) (ตารางที่ 27)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่ แชมพู ผงซักฟอก
เครื่องใช้ไฟฟ้า มีความสำคัญอันดับ 3
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เครื่องใช้ส่วนตัว (เช่น เสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้า
ฯลฯ) (ตารางที่ 28)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัวให้
ความสำคัญอันดับ 4
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
รักษาพยาบาล (ตารางที่ 29)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้
ความสำคัญอันดับ 7
3.1.12 ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน
ประกอบด้วย ข้อมูลการออมเงิน และข้อมูล
จำนวนเงินออม
ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน (ตารางที่ 30)

ทั้งหมดมีการออมเงินร้อยละ 44.9
ข้อมูลจำนวนเงินออมในครัวเรือน
(ตารางที่ 31)

ร้อยละ 11.59 ของครัวเรือนมีเงินออม 1-5000
บาท
3.1.13 ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน
ประกอบด้วย ข้อมูลการมีหนี้สิน และข้อมูล
จำนวนหนี้สิน
ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน (ตารางที่ 32)

ร้อยละ 21.7 ของครัวเรือนมีหนี้สิน
ข้อมูลจำนวนหนี้สินในครัวเรือน (ตารางที่ 33)

ร้อยละ 30.43 ของครัวเรือนมีหนี้สินเป็นจำนวน
เงิน 100,001-500,000 บาท
3.1.14 ข้อมูลการทำรายรับ – รายจ่าย
(ตารางที่ 34)

มีครอบครัวใดที่ทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย เป็นร้อย
ละ 26.1
18
3.2. ส่วนที่ 2 ข้อมูลด้านที่อยู่อาศัย
3.2.1 ภูมิลำเนาเดิม
ต่างจังหวัดได้แก่
ปราจีนบุรี 3 ราย
อ่างทอง 3 ราย
อุบลราชธานี 2 ราย
นครศรีธรรมราช 3 ราย
พะเยา 1 ราย
สุพรรณบุรี 1 ราย
ยโสธร 1 ราย
เลย 1 ราย
ประจวบคีรีขันธ์ 1 ราย
สุรินทร์ 1 ราย
อยุธยา 1 ราย
จันทบุรี 1 ราย
ร้อยเอ็ด 1 ราย
บุรีรัมย์ 1 ราย
แพร่ 1 ราย
เพชรบูรณ์ 1 ราย
ขอนแก่น 1 ราย
ชัยภูมิ 1 ราย
ลพบุรี 1 ราย
นครนายก 1 ราย
เชียงใหม่ 1 ราย
กรุงเทพฯและปริมณฑลได้แก่
กรุงเทพฯ 1 ราย
นนทบุรี 1 ราย
ทุ่งครุ 1 ราย
บางปะกอก 1 ราย
ราษฏร์บูรณะ 1 ราย
เจริญนคร 1 ราย
ลาดพร้าว 1 ราย
สาธร 1 ราย
3.2.2 ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในชุมชน (ตารางที่
35)

ประชากรส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในชุมชนประมาณ
6-10 ปี
3.2.3 การครอบครองที่อยู่อาศัย ประกอบด้วย
ข้อมูลการครอบครองที่อยู่อาศัย และข้อมูลด้าน
จำนวนพื้นที่อยู่อาศัย
การครอบครองที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 36)

3.2.5 บริเวณที่อยู่อาศัยของท่านมีความปลอดภัย
ในชีวิตและทรัพย์สินหรือไม่ (ตารางที่ 39)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 62.3 เห็นว่ามีความปลอดภัยใน
ระดับปานกลางที่พักอาศัยส่วนใหญ่เช่าอยู่ ร้อยละ 53.6
จำนวนพื้นที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 37)

ส่วนใหญ่มีพื้นที่อยู่อาศัยประมาณ 11-20 ตรม.
3.2.4 ลักษณะของที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 38)

ส่วนใหญ่ที่อยู่อาศัยเป็นแฟลตร้อยละ 66.7

3.2.6 ครัวเรือนของท่านถูกรบกวนจากภาวะต่าง
ๆ หรือไม่
ถูกรบกวนจากขยะ (ตารางที่ 40)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 50.7 เห็นว่าไม่ถูกรบกวนจาก
ปัญหาขยะ
ถูกรบกวนจากน้ำเน่าเสีย (ตารางที่ 41)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 46.4 เห็นว่าไม่ถูกรบกวนจาก
น้ำเสีย
ถูกรบกวนจากน้ำท่วม (ตารางที่ 42)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 36.2 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำ
ท่วมในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากเสียงดัง (ตารางที่ 43)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 47.8 เห็นว่าถูกรบกวนจาก
เสียงดังในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากการจราจรติดขัด (ตารางที่ 44)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 36.2 เห็นว่าถูกรบกวนจาก
จราจรติดขัดในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากฝุ่นควันและก๊าซพิษ (ตารางที่ 45)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 36.2 เห็นว่าถูกรบกวนจากฝุ่น
ควันและก๊าซพิษในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากด้านอื่น ๆ (ตารางที่ 46)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 88.4 ไม่ตอบว่าถูกรบกวนจาก
สิ่งอื่นๆ
3.2.7 ในรอบปีที่ผ่านมาครัวเรือนของท่านได้รับ
การช่วยเหลือหรือการสนับสนุน ด้านใดบ้างและ
จากหน่วยงานใด (เช่น) ค่าเล่าเรียนบุตร การ
ส่งเสริมอาชีพ การพ่นหมอกควันกำจัดยุง)
(ตารางที่ 47)

3.3 ส่วนที่ 3 ข้อมูลด้านการเป็นสมาชิกกลุ่มหรือการร่วมทำกิจกรรมที่ได้รับการส่งเสริม
3.3.1 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านสุขภาพ
กิจกรรมออกกำลังกายผู้สูงอายุ (ตารางที่ 48)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.5 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
สุขภาพ
เยาวชนรักกีฬา (ตารางที่ 49)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.2 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
เยาวชนรักกีฬา
เต้นแอโรบิค (ตารางที่ 50)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมเต้นแอ
โรบิค
งดสูบบุหรี่ (ตารางที่ 51)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 65.2 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมงด
สูบบุหรี่
ต่อต้านยาเสพติด (ตารางที่ 52)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 63.8 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ต่อต้านยาเสพติด
ป้องกันอุบัติเหตุ (ตารางที่ 53)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 75.4 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ป้องกันอุบัติเหตุ
ควบคุมเบาหวาน (ตารางที่ 54)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 73.9 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ควบคุมเบาหวาน
ควบคุมความดันโลหิต (ตารางที่ 55)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 69.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ควบคุมความดันโลหิต
ควบคุมไข้เลือดออก (ตารางที่ 56)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 53.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ควบคุมไข้เลือดออก
ตรวจมะเร็งปากมดลูก (ตารางที่ 57)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.0 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมตรวจ
มะเร็งปากมดลูก
ตรวจมะเร็งเต้านม (ตารางที่ 58)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.5 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ควบคุมมะเร็งเต้านม
3.3.2 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านอาชีพ
ฝึกอาชีพเสริม (ตารางที่ 59)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.0 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมฝึก
อาชีพเสริม
ส่งเสริมการท่องเที่ยว (ตารางที่ 60)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 73.9 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ส่งเสริมการท่องเที่ยว
ส่งเสริมรายได้เด็ก (ตารางที่ 61)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 73.9 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมเสริม
รายได้เด็ก
กิจกรรมชีวิตพอเพียง (ตารางที่ 62)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.0 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมชีวิต
พอเพียง
กลุ่มแม่บ้าน (ตารางที่ 63)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 75.4 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่ม
แม่บ้าน
OTOP (ตารางที่ 64)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 75.4 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
OTOP
การทำบัญชีครัวเรือน (ตารางที่ 65)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.5 ตอบว่าไม่ทำบัญชี
ครัวเรือน
กองทุนหมู่บ้าน (ตารางที่ 66)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 76 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
กองทุนหมู่บ้าน
กลุ่มณาปนกิจ (ตารางที่ 67)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 76.8 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
กลุ่มณาปนกิจ
กลุ่มออมทรัพย์ (ตารางที่ 68)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.0 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่ม
ออมทรัพย์
กองทุนอาชีพ (ตารางที่ 69)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 73.9 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
กองทุนอาชีพ
ร้านค้าชุมชน (ตารางที่ 70)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 76.8 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ร้านค้าชุมชน
ออมทรัพย์อื่นๆ (ตารางที่ 71)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมออม
ทรัพย์อื่นๆ
3.3.4 ข้อมูลด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
อนุรักษ์ศิลปะ (ตารางที่ 72)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 69.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่ม
อนุรักษ์ศิลปะ
การทำบุญตักบาตร (ตารางที่ 73)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.5 ตอบว่าไม่เข้าร่วม
กิจกรรมทำบุญตักบาตร
วันปีใหม่สงกรานต์ (ตารางที่ 74)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 63.8 ตอบว่าไม่เข้าร่วม
กิจกรรมกิจกรรมปีใหม่สงกรานต์
การส่งเสริมศิลปะ (ตารางที่ 75)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.2 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
กิจกรรมส่งเสริมศิลปะ
ศาสนพิธี (ตารางที่ 76)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.2 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ศาสนพิธี
พิธีอื่นๆ (ตารางที่ 77)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.6 ไม่เข้าร่วมพิธีอื่นๆ
3.3.5 ข้อมูลด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม

ส่วนใหญ่ร้อยละ 58.0 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ป้องกันยาเสพติด
กลุ่มผู้สูงอายุ (ตารางที่ 79)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.0 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่ม
ผู้สูงอายุ
กิจกรรมเยาวชน (ตารางที่ 80)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
เยาวชน
ป้องกันขโมย (ตารางที่ 81)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.5 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ป้องกันขโมย
กิจกรรมห่วงใยวัย 70 (ตารางที่ 82)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 73.9 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ห่วงใยวัย 70
ส่งเสริมสถาบันครอบครัว (ตารางที่ 83)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68.1 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ส่งเสริมสถาบันครอบครัว
กิจกรรมสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส(ตารางที่ 84)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.0 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
สงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส/ผู้พิการ
กองทุนพัฒนาชุมชน (ตารางที่ 85)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 69.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
กองทุนพัฒนาชุมชน
กองทุนผู้สูงอายุ (ตารางที่ 86)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
กองทุนผู้สูงอายุ
3.3.6 ข้อมูลด้านการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อม
ระวังคุณภาพน้ำ (ตารางที่ 87)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.5 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมเฝ้า
ระวังคุณภาพน้ำ
ชุมชนน่าอยู่ (ตารางที่ 88)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 69.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ชุมชนน่าอยู่
เก็บขยะในชุมชน (ตารางที่ 89)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.2 ตอบว่าไม่เข้าร่วม
กิจกรรมเก็บขยะในชุมชน
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (ตารางที่ 90)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 58 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ขุดลอกคูคลอง (ตารางที่ 91)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 49.3 ตอบว่าไม่มีร่วมกิจกรรม
ขุดลอกคูคลอง
ปลูกต้นไม้ (ตารางที่ 92)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 59.4 ตอบว่าไม่มีร่วมกิจกรรม
ปลูกต้นไม้
ซ่อมแซมสาธารณูปโภค (ตารางที่ 99)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 39.1 ตอบว่าไม่เข้าร่วม
กิจกรรมซ่อมแซมสาธารณูปโภค
ทำความสะอาด (ตารางที่ 100)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมทำ
ความสะอาด
ทิ้งขยะในถัง (ตารางที่ 101)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 58.0 ตอบว่าไม่เข้ากิจกรรมทิ้ง
ขยะในถัง
รณรงค์เลือกตั้ง (ตารางที่ 103)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.0 ตอบว่าไม่เข้ากิจกรรม
รณรงค์เลือกตั้ง
อบรมความรู้การเมือง (ตารางที่ 104)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 44.9 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
อบรมความรู้การเมือง

 

สรุปข้อมูลจากการสำรวจโดยแบบสอบถามระหว่างวันที่ …..................
      สำรวจโดยใช้แบบสอบถามจากครัวเรือนทั้งหมด 69 ครัวเรือนคิดเป็น 60 เปอร์เซ็นต์ของ
ครัวเรือนทั้งหมดในชุมชน ในชุมชนนี้มีสมาชิกประมาณ 2-3 คนต่อครัวเรือน ชุมชนร่วมใจพัฒนา
ประชากรประกอบด้วยเพศชาย ร้อยละ 48.9 เพศหญิงร้อยละ 47.5 และไม่ตอบร้อยละ 3.6 ประชากร
ส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง 41-50 ปี มีเด็กอายุอยู่ในช่วง 0-10 ปีร้อยละ 14.9 และผู้สูงอายุร้อยละ 5
ประชากรส่วนใหญ่มีการศึกษาในระดับประถมศึกษา ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนา มีรายได้อยู่
ในช่วง 1001-15000 บาท มีรายจ่ายอยู่ในช่วง 5001 – 10000 บาท ชุมชนร่วมใจพัฒนาประชากรส่วน
ใหญ่ประกอบอาชีพหลักคือ รับราชการ ร้อยละ 92.76 ไม่มีอาชีพเสริม โรคประจำตัว ของคนใน
ชุมชนประชาอุทิศ 76 ได้แก่ หอบหืด ความดันโลหิต เบาหวาน ภูมิแพ้ หัวใจ กระเพาะ คนในชุมชนอยู่
ด้วยกันร้อยละ 59.4 คนในชุมชนร่วมใจพัฒนาร้อยละ 43.5 ไม่ทะเลาะกัน ในครัวเรือนในชุมชนส่วน
ใหญ่มีคนว่างงาน ประมาณ 1-2 คน มีอยู่ประมาณ 3 ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็นร้อยละ 4.3 ของครัวเรือน
ทั้งหมด มีผู้ติดสุรา 1 คนคิดเป็นร้อยละ 8.7 ของครัวเรือนทั้งหมด มีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คนคิดเป็น
ร้อยละ 20.3 ของครัวเรือนทั้งหมด มีเล่นการพนันคิดเป็นร้อยละ 17.4 ของครัวเรือนทั้งหมด มีผู้เล่น
การพนัน 3 คน 1 ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 8.7 ของครัวเรือนทั้งหมด มีผู้ซื้อกลากกินแบ่งคิดเป็นร้อยละ
46.4 ของครัวเรือนทั้งหมด ร้อยละ 20 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล ส่วนใหญ่จะซื้อ
ประมาณ 1 คนในครอบครัว ส่วนใหญ่ใช้เงินซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลเดือนละ 200 บาท ค่าใช้จ่ายด้าน
อาหารเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 1 ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ
อันดับ 6 ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 5 ค่าเล่าเรียนบุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 2 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้ความสำคัญอันดับ 2 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ
สบู่ แชมพู ผงซักฟอก เครื่องใช้ไฟฟ้า มีความสำคัญอันดับ 3 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัวให้
ความสำคัญอันดับ 4 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้ความสำคัญอันดับ 7 มีการออมเงินร้อยละ
44.9 ของครัวเรือนทั้งหมด ร้อยละ 11.59 ของครัวเรือนมีเงินออม 1-5000 บาท ร้อยละ 21.7 ของ
ครัวเรือนมีหนี้สิน โดยร้อยละ 30.43 ครัวเรือนมีหนี้สินเป็นจำนวนเงิน 100,001-500,000 บาท และไม่มี
ครอบครัวใดที่ทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย

      ด้านที่อยู่อาศัย มีประชากรที่มีภูมิลำเนาเดิมจากต่างจังหวัดได้แก่ ปราจีนบุรี 3 ราย อ่างทอง 3 ราย
อุบลราชธานี 2 ราย นครศรีธรรมราช 3 ราย พะเยา 1 ราย สุพรรณบุรี 1 ราย ยโสธร 1 ราย เลย 1 ราย
ประจวบคีรีขันธ์ 1 ราย สุรินทร์ 1 ราย อยุธยา 1 ราย จันทบุรี 1 ราย ร้อยเอ็ด 1 ราย บุรีรัมย์ 1 ราย แพร่ 1
ราย เพชรบูรณ์ 1 ราย ขอนแก่น 1 ราย ชัยภูมิ 1 ราย ลพบุรี 1 ราย นครนายก 1 ราย เชียงใหม่ 1 ราย จาก
กรุงเทพฯและปริมณฑลได้แก่ กรุงเทพฯ 1 ราย นนทบุรี 1 ราย ทุ่งครุ 1 ราย บางปะกอก 1 ราย ราษฎร์
บูรณะ 1 ราย เจริญนคร 1 ราย ลาดพร้าว 1 ราย สาธร 1 ราย ประชากรส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในชุมชน
ประมาณ 6-10 ปี ที่พักอาศัยส่วนใหญ่เช่าอยู่ ร้อยละ 53.6 ส่วนใหญ่มีพื้นที่อยู่อาศัยประมาณ 11-20 ตรม.
ส่วนใหญ่ที่อยู่อาศัยเป็นแฟลตร้อยละ 66.7

      ด้านสิ่งแวดล้อมในบริเวณที่อยู่อาศัย ส่วนใหญ่ร้อยละ 62.3 เห็นว่ามีความปลอดภัยในระดับปาน
กลาง ส่วนใหญ่ร้อยละ 50.7 เห็นว่าไม่ถูกรบกวนจากปัญหาขยะ ส่วนใหญ่ร้อยละ 46.4 เห็นว่าไม่ถูก
รบกวนจากน้ำเสีย ส่วนใหญ่ร้อยละ 36.2 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำท่วมในระดับน้อย ส่วนใหญ่ร้อยละ
47.8 เห็นว่าถูกรบกวนจากเสียงดังในระดับน้อย ส่วนใหญ่ร้อยละ 36.2 เห็นว่าถูกรบกวนจากจราจร
ติดขัดในระดับปานกลาง ส่วนใหญ่ร้อยละ 36.2 เห็นว่าถูกรบกวนจากฝุ่นควันและก๊าซพิษในระดับปาน
กลาง ส่วนใหญ่ร้อยละ 88.4 ไม่ตอบว่าถูกรบกวนจากสิ่งอื่นๆ ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.5 ไม่ได้รับความ
ช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆ การสนับสนุนที่ได้รับคือ การพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย ความต้องการ
การสนับสนุน แก้ปัญหายาเสพติด 1 ราย แก้ปัญหาวัยรุ่นมั่วสุม 1 ราย แก้ปัญหาจราจร 1 ราย
แก้ปัญหาฝุ่นควัน 1 ราย แก้ปัญหาน้ำท่วม 1 ราย สนับสนุนการเงิน 1 ราย สนับสนุนยารักษาโรค 1
ราย สนับสนุนอาหาร 1 ราย ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 1 ราย ค่าครองชีพ 1 ราย

      ด้านการเป็นสมาชิกกลุ่มหรือการร่วมทำกิจกรรมที่ได้รับการส่งเสริม ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.5 ตอบ
ว่าไม่มีกิจกรรมสุขภาพ ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.2 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมเยาวชนรักกีฬา ส่วนใหญ่ร้อยละ 71
ตอบว่าไม่มีกิจกรรมเต้นแอโรบิค ส่วนใหญ่ร้อยละ 65.2 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมงดสูบบุหรี่ ส่วนใหญ่ร้อย
ละ 63.8 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมต่อต้านยาเสพติด ส่วนใหญ่ร้อยละ 75.4 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมป้องกัน
อุบัติเหตุ ส่วนใหญ่ร้อยละ 73.9 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมควบคุมเบาหวาน ส่วนใหญ่ร้อยละ 69.6 ตอบว่าไม่
มีกิจกรรมควบคุมความดันโลหิต ส่วนใหญ่ร้อยละ 53.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมควบคุมไข้เลือดออก ส่วน
ใหญ่ร้อยละ 71.0 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมตรวจมะเร็งปากมดลูก ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.5 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ควบคุมมะเร็งเต้านม ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.0 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมฝึกอาชีพเสริม ส่วนใหญ่ร้อยละ 73.9
ตอบว่าไม่มีกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว ส่วนใหญ่ร้อยละ 73.9 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมเสริมรายได้เด็ก
ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.0 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมชีวิตพอเพียง ส่วนใหญ่ร้อยละ 75.4 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่ม
แม่บ้าน ส่วนใหญ่ร้อยละ 75.4 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม OTOP ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.5 ตอบว่าไม่ทำบัญชี
ครัวเรือน ส่วนใหญ่ร้อยละ 76 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกองทุนหมู่บ้าน ส่วนใหญ่ร้อยละ 76.8 ตอบว่าไม่มี
กิจกรรมกลุ่มณาปนกิจ ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.0 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์ ส่วนใหญ่ร้อยละ
73.9 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกองทุนอาชีพ ส่วนใหญ่ร้อยละ 76.8 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมร้านค้าชุมชน ส่วน
ใหญ่ร้อยละ 98.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมออมทรัพย์อื่นๆ ส่วนใหญ่ร้อยละ 69.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่ม
อนุรักษ์ศิลปะ ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.5 ตอบว่าไม่เข้าร่วมกิจกรรมทำบุญตักบาตร ส่วนใหญ่ร้อยละ 63.8
ตอบว่าไม่เข้าร่วมกิจกรรมกิจกรรมปีใหม่สงกรานต์ ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.2 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกิจกรรม
ส่งเสริมศิลปะ ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.2 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมศาสนพิธี ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.6 ไม่เข้าร่วม
พิธีอื่นๆ ส่วนใหญ่ร้อยละ 58.0 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมป้องกันยาเสพติด ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.0 ตอบว่าไม่
มีกิจกรรมกลุ่มผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมเยาวชน ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.5 ตอบว่า
ไม่มีกิจกรรมป้องกันขโมย ส่วนใหญ่ร้อยละ 73.9 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมห่วงใยวัย 70 ส่วนใหญ่ร้อยละ
68.1 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมส่งเสริมสถาบันครอบครัว ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.0 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
สงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส/ผู้พิการ ส่วนใหญ่ร้อยละ 69.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกองทุนพัฒนาชุมชน ส่วน
ใหญ่ร้อยละ 68 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกองทุนผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.5 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมเฝ้าระวัง
คุณภาพน้ำ ส่วนใหญ่ร้อยละ 69.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมชุมชนน่าอยู่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.2 ตอบว่าไม่
เข้าร่วมกิจกรรมเก็บขยะในชุมชน ส่วนใหญ่ร้อยละ 58 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ส่วน
ใหญ่ร้อยละ 49.3 ตอบว่าไม่มีร่วมกิจกรรมขุดลอกคูคลอง ส่วนใหญ่ร้อยละ 59.4 ตอบว่าไม่มีร่วม
กิจกรรมปลูกต้นไม้ ส่วนใหญ่ร้อยละ 39.1 ตอบว่าไม่เข้าร่วมกิจกรรมซ่อมแซมสาธารณูปโภค ส่วน
ใหญ่ร้อยละ 72 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมทำความสะอาด ส่วนใหญ่ร้อยละ 58.0 ตอบว่าไม่เข้ากิจกรรมทิ้ง
ขยะในถัง ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.0 ตอบว่าไม่เข้ากิจกรรมรณรงค์เลือกตั้ง ส่วนใหญ่ร้อยละ 44.9 ตอบว่าไม่
มีกิจกรรมอบรมความรู้การเมือง