ชุมชนหลัง สน. ทุ่งครุ่
ชุมชน หลัง สน. ทุ่งครุ หมู่ที่ 2 แขวงทุ่งครุ เขตทุ่งครุ จังหวัด กรุงเทพมหานครฯ
1. ข้อมูลพื้นฐานของชุมชน
1.1 ประวัติความเป็นมาของชุมชน
    .ชุมชนหลัง สน.ทุ่งครุ เดิมทีมีครัวเรือนแค่ 4-5 หลังคาเรือน อยู่ในความรับผิดชอบของเขตราษฎร์บูรณะ แต่
แยกมาเป็นเขตทุ่งครุเมื่อปี 2543 อาชีพเก่าแก่และดั้งเดิมคือการทำนา ต่อมาก็เปลี่ยนอาชีพเป็นปลูกส้ม(บาง
มด) จนยุคปัจจุบันอาชีพดั้งเดิมเลือนหายไป กลายมาเป็นลูกจ้างในองค์กรภาครัฐและเอกชน พื้นที่ส่วนใหญ่
ของชุมชนเป็นพื้นที่หนองน้ำ ซึ่งในอดีตใช้เรือในการสัญจรไปมา เครื่องสาธารณูปโภค จำพวกไฟฟ้า
น้ำประปา เพิ่งจะเข้ามาเมื่อไม่กี่ปีนี้เอง อนึ่งพื้นที่หมู่ 2 เป็นพื้นที่เอกชนซึ่งคนในชุมชนต้องเสียค่าเช่าเดือน
ล่ะ 1,200 บาท
    - เริ่มก่อตั้งในปี 2451 หรือประมาณ 100 ปีมาแล้ว
    - โครงสร้างพื้นฐานชุมชน เริ่มเข้าไปพัฒนาเมื่อปี พ.ศ. 2534
การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของชุมชน
เริ่มเมื่อ ปี 2535 เริ่มมีไฟฟ้าเข้ามาในชุมชน
จนกระทั่งปี 2537 ผู้คนเริ่มย้ายเข้ามาในพื้นที่และหางานทำมากขึ้น
วัดทุ่ง โดยชุมชนหมู่ 2 จะร่วมส่งคนในชุมชนเข้าร่วมแข่งขันเป็นประจำทุกปี
สภาพปัจจุบัน มีประชากรทั้งหมด 298 คน ชาย 147 คน หญิง 151 มีครัวเรือน 70
ครอบครัว มี 50 หลังคาเรือน
วัฒนธรรมประเพณี
    - สงกรานต์ รดน้ำ- ดำหัวผู้หลักผู้ใหญ่ คนเฒ่าคนแก่
    - แข่งเรือร่วมกับชาวมอญที่พระประแดง (สมุทรปราการ)
ปัญหาสำคัญภายในชุมชน
    1. ปัญหาขยะ
    2. ปัญหาทางเดินที่ใช้สัญจรไปมา (เพราะพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นแอ่งน้ำ เป็นพื้นที่ที่ราบลุ่ม)
    3. ปัญหาสาธารณูปโภคไม่เพียงพอ
    4. ปัญหาเรื่องสาธารณสุขชุมชน เช่น ไข้เลือดออก และแมลงวันชุกชุม
    5. ปัญหายาเสพติดภายในชุมชน
การทำงานร่วมกับหน่วยงานภายนอกชุมชนทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น
    1. มีศูนย์สุขภาพ หรืออนามัยประจำชุมชน ซึ่งจากการสัมภาษณ์คุณยายดวงเดือน แจ่มเสือ อดีตผู้นำ
ชุมชน ทำให้รู้ว่าคุณยายดวงเดือนเป็นผู้ริเริ่มจัดให้มีอนามัยในชุมชน ซึ่งเดิมทีใช้พื้นที่บ้านของยายเป็น
สถานที่อนามัย ปัจจุบันย้ายออกมาตั้งข้างนอก 1. สำนักงานเขตทุ่งครุ
    2. มีการจัดตั้งสหกรณ์ขึ้นในปี 2540 (โดยมีงบสหกรณ์ครั้งแรก 1,200,000 บาท)
    3. จัดตั้งสหกรณ์ออมทรัพย์ เพื่อที่อยู่อาศัยสำหรับชุมชน ซึ่งปัจจุบันมีสมาชิก 75 คน
แผนที่ชุมชน

1.5 สภาพชุมชน

2. ข้อมูลแบบสัมภาษณ์ของคณะกรรมการชุมชน
ชื่อชุมชน ชุมชนหลัง สน.ทุ่งครุ
ชื่อผู้ให้สัมภาษณ์ นางมณีรัตน์ วิริยะกิจ ตำแหน่ง/หน้าที่ ประธานชุมชน
    1. ที่ตั้งของชุมชน หลัง สน. ทุ่งครุ ซอยประชาอุทิศ 90 แขวงทุ่งครุ เขตทุ่งครุ กรุงเทพฯ
    2. อาณาเขตติดต่อ
      - ทิศเหนือติดกับ สน. ทุ่งครุ
      - ทิศตะวันออกติดกับ พื้นที่สวนเอกชน
      - ทิศใต้ติดกับ จรดซอยครุใน
      - ทิศตะวันตกติดกับ คลองรางจาก
    3. คณะกรรมการชุมชนมีบทบาทในการพัฒนาหรือการปกครองชุมชนอย่างไรบ้าง
      คณะกรรมการช่วยกันดูแลชาวชุมชนที่มีปัญหาอะไรที่เดือดร้อนและมีความ
จำเป็นเราจะประชุมกันเดือนละ 1 ครั้ง มาปรึกษาหารือกัน เรื่องไหนที่แก้ไขได้ก็ปรึกษาพี่เลี้ยง
ชุมชน
    4. ภายในชุมชนมีสถานที่สำคัญอะไรบ้างและมีความเป็นมาอย่างไร
      ไม่มี
    5. ชุมชนมีกฏระเบียบหรือข้อบังคับในการอยู่ร่วมกันภายในชุมชนอย่างไรบ้าง
      ไม่มี
    6. ชุมชนมีนโยบายหรือแผนในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง
      ไม่มี
    7. ในชุมชนมีปัญหาอะไรบ้าง
      - ปัญหาด้านสังคม
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหายาเสพติด, ปัญหาลักเล็กขโมยน้อย, ปัญหา
ทะเลาะกัน, ปัญหาการหย่าร้าง, ปัญหาผู้สูงอายุถูกทอดทิ้ง
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาวิ่งราว
      - ปัญหาด้านเศรษฐกิจ
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาหนี้นอกระบบ
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาคนว่างงาน , ปัญหารายได้น้อย
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาหนี้ในระบบ, ปัญหาขาดโอกาสประกอบอาชีพ,
ปัญหาขาดโอกาสในการพัฒนาฝีมือ, ปัญหาขาดตลาดสำหรับขายผลิตภัณฑ์, ปัญหาการรวมกลุ่มอาชีพ,
ปัญหาขาดแหล่งทุนสำหรับกู้ยืม
      - ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการสื่อสารและโทรคมนาคม
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาผิวจราจรแตกชำรุดเป็นหลุมเป็นบ่อ
      - ปัญหาด้านสารธารณสุข
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ, ปัญหาการติดสุรา,
        ปัญหาการติดบุหรี่
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ชุมชนอยู่ห่างไกลสถานพยาบาล, ปัญหาโภชนาการเด็ก,
การแพร่ระบาดของโรคที่มีสัตว์นำโรค, ขาดแคลนสถานที่ออกกำลังกาย, ความเสี่ยงในการเกิดโรคติดต่อ
ทางเพศสัมพันธ์
      - ปัญหาด้านการศึกษา
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการขาดโอกาสศึกษา, ปัญหาการศึกษาใน
        ระบบโรงเรียนยังขาดแคลนงบประมาณ, ปัญหาผู้สอนไม่มีประสิทธิภาพ, ปัญหาผู้สอนไม่เพียงพอกับ
นักเรียน, ปัญหาสื่อการเรียนการสอนไม่ได้คุณภาพ
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง -
      - ปัญหาด้านศาสนา
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ขาดความร่วมมืออุปถัมภ์ศาสนาในชุมชน, ศาสนิก
ชนขาดความรู้ความเข้าใจในหลักศาสนา, ขาดความร่วมมือระหว่างองค์กรศาสนา
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง การกำหนดบทบาทและหน้าที่ของกรมศาสนา ไม่มีความ
ชัดเจนและเหมาะสมกับภารกิจ, ศาสนสถานยังไม่ได้รับการบูรณะ
      - ปัญหาด้านประเพณีและวัฒนธรรม
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาขาดการสนับสนุนการทำนุบำรุงรักษา
วัฒนธรรมท้องถิ่น, การให้ความสำคัญกับความเชื่อ, ไม่มีการถ่ายทอดประเพณีให้แก่ลูกหลาน
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง -
      - ปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง น้ำเน่าเสีย, ขยะมูลฝอย, ปัญหาชุมชนแออัด, ปัญหา
ด้านการขาดการฟื้นฟูรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง -
      - ปัญหาด้านการเมืองการบริหาร
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง คนในชุมชนขาดการมีส่วนร่วมในการเลือกตั้ง,
        บุคลากรทางการเมืองในท้องถิ่นขาดความรู้ในบทบาทหน้าที่, การขาดแคลนวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน,
การให้บริการข้อมูลข่าวสารยังไม่ทั่วถึง
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง สถานที่ราชการคับแคบและไม่เพียงพอ
    8. จงเรียงลำดับความสำคัญของปัญหาที่ชุมชนต้องแก้ไขเร่งด่วนมากที่สุด เพราะอะไร
    9. ในชุมชนมีกลุ่มกิจกรรมอะไรบ้างที่ทางราชการและเอกชนเข้ามาส่งเสริม
      - ด้านสุขภาพ
        มีกิจกรรมดังนี้ กิจกรรมรณรงค์ต่อต้านยาเสพติดในชุมชน
      - ด้านอาชีพ
        ไม่มีกิจกรรมด้านอาชีพ
      - ด้านการออมทรัพย์
        มีกิจกรรม ดังนี้ กองทุนหมู่บ้าน, กลุ่มออมทรัพย์
      - ด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
        มีกิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมวันปีใหม่และวันสงกรานต์
      - ด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม
        มีกิจกรรม ดังนี้ มีการรวมกลุมกิจกรรมของผู้สูงอายุ, การสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส
        ด้านการศึกษา
      - ด้านการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อม
        มีกิจกรรม ดังนี้ การเก็บขยะในชุมชน, การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม, การปรับปรุง
หรือซ่อมแซมสาธารณูปโภค, รณรงค์ให้ทิ้งขยะในถังขยะ
      - ด้านการเมืองการปกครอง
        มีกิจกรรม ดังนี้ รณรงค์ให้ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งทุก ๆ ครั้งที่มีการเลือกตั้ง
    10. ชุมชนมีโครงการในการพัฒนาชุมชนอะไรบ้างและแต่ละโครงการมีกิจกรรมอย่างไร
    11. คนดีและเก่งที่เป็นกำลังสำคัญในชุมชน
      - ด้านการทำอาหาร
      - ด้านการช่าง
        ช่างปูน นายชรินทร์ ทองกลิ่น
        ช่างไฟ นายวรินทร์ เกิดโภคา
      - ด้านการเกษตร
        ปลูกผัก นายโสภณ วิริยะกิจ
      - ด้านศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม (ทุกศาสนาที่มีอยู่ในชุมชน)
      - ด้านการแพทย์แผนไทย
      - ด้านการประดิษฐ์
      - ด้านอื่น ๆ
    12. ในชุมชนมีจุดอ่อนจุดแข็งอะไรบ้าง
      จุดแข็ง -
      จุดอ่อน -
    13. รายชื่อคณะกรรมการหมู่บ้าน
      1. นางมณีรัตน์ วิริยะกิจ ตำแหน่ง ประธาน
      2. นางบุญยื่น อินทร์ปัญญา ตำแหน่ง รองประธาน 
      3. นางจรีรัตน์ ปั้นทัญ ตำแหน่ง เลขา
      4. นางบุญเริ่ม ทรัพย์แสวงหา ตำแหน่ง เหรัญญิก
      5. นางดวงเดือน แจ่มเสือ ตำแหน่ง ประชาสัมพันธ์
      6. นางสุชน สมสุข ตำแหน่ง กรรมการ
      7. นายกฤษฎา วัยปัทมะ ตำแหน่ง กรรมการ
    14. รายชื่อพัฒนาชุมชน (อช.)
    15. รายชื่ออาสาสาธารณประจำชุมชน (อส.ม)
      1. นางดวงเดือน แจ่มเสือ
      2. นางทองสุข ขวัญบัว
      3. นางสาคร หวานสะแอม
    16. ในชุมชนมีสิ่งที่ทำให้สมาชิกในชุมชนมีความภาคภูมิใจอะไรบ้างเพราะอะไร
      1. วันเด็ก ได้จัดให้เด็ก ๆ มีการแสดงออกในชุมชน
      2. วันสงกรานต์ ได้จัดให้ผู้สูงอายุรดน้ำดำหัวในชุมชน

3. ข้อมูลแบบสอบถามของชุมชน
3.1. ส่วนที่ 1 ข้อมูลด้านประชากรของ
สมาชิกในครัวเรือน
3.1.1 ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนของชุมชนประกอบด้วย ข้อมูลรวมของสมาชิกในครัวเรือน
ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเพศชาย และข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเพศหญิง
ตารางที่ 1 แสดงจำนวนสมาชิกในครัวเรือน

ในครัวเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนนี้มีสมาชิก 5 คน
ตารางที่ 2 แสดงข้อมูลจำนวนเพศของสมาชิกในชุมชน

ชุมชนหลัง สน. ประชากรประกอบด้วยเพศชาย
ร้อยละ 41.18 เพศหญิงร้อยละ 58.82
ตารางที่ 3 แสดงข้อมูลด้านอายุของสมาชิกในชุมชน

ชุมชนหลัง สน. ประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่
ในช่วง 0-10 ปี คิดเป็นร้อยละ 18.49 และผู้สูงอายุ
ร้อยละ 9.24
3.1.2 ข้อมูลส่วนบุคคลของสมาชิกในครัวเรือนทั้งหมด
ตารางที่ 4 แสดงข้อมูลการศึกษา

ชุมชนหลัง สน. ประชากรส่วนใหญ่มีการศึกษา
ในระดับประถมศึกษา
ตารางที่ 5 แสดงข้อมูลการนับถือศาสนา

ชุมชนหลัง สน. ประชากรส่วนใหญ่นับถือ
ศาสนาพุทธ
ตารางที่ 6 แสดงข้อมูลรายได้ของสมาชิกในชุมชน

ชุมชนหลัง สน. ประชากรส่วนใหญ่มีรายได้อยู่
ในช่วง 5001-10000 บาท
ตาราง 7 แสดงข้อมูลรายจ่ายของคนในชุมชน

ชุมชนหลัง สน. ประชากรส่วนใหญ่มีรายจ่ายอยู่
ในช่วง 5001 – 10000 บาท
ตาราง 8 แสดงข้อมูลอาชีพหลัก ของคนในชุมชน

ชุมชนหลัง สน. ประชากรส่วนใหญ่ไม่มีอาชีพ
เนื่องจากเป็นเด็ก รองลงมา ประกอบอาชีพรับจ้างคิดเป็นร้อยละ 38.4
ตารางที่ 9 แสดงอาชีพเสริมของคนในชุมชน

คนในชุมชนร่วมใจส่วนใหญ่ร้อยละ 96 ไม่มี
อาชีพเสริม
ตาราง 10 แสดงข้อมูลโรคประจำตัวของคนในชุมชน

โรคประจำตัว ของคนในชุมชนหลัง สน. ได้แก่
หอบหืด ความดันโลหิต เบาหวาน หัวใจ
3.1.3 ตารางที่ 11 แสดงข้อมูลสถานะภาพครอบครัวในชุมชน

คนในชุมชนแยกกันอยู่ร้อยละ 23.3 หย้าร้าง
ร้อยละ 10
3.1.4 ข้อมูลความขัดแย้งหรือการทะเลาะกันใน
ครัวเรือน
ตารางที่ 12 แสดงข้อมูลด้านความขัดแย้งหรือการทะเลาะกันในครัวเรือน

คนในชุมชนหลัง สน. ร้อยละ 33 ทะเลาะกัน
อาทิตย์ละ1-2 ครั้ง
3.1.5 จำนวนข้อมูลผู้ว่างงานในครัวเรือน
ตารางที่ 13 แสดงข้อมูลด้านผู้ว่างวานในครัวเรือน

ในครัวเรือนในชุมชนส่วนใหญ่มีคนว่างงาน
ประมาณ 2 คน
3.1.6 ข้อมูลจำนวนผู้พิการในครัวเรือน
ตารางที่ 14 แสดงข้อมูลผู้พิการในครัวเรือน

มีอยู่ประมาณ 1 ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็น
ร้อยละ 3.3 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.7 ข้อมูลจำนวนผู้ติดสุราในครัวเรือน
ตารางที่ 15 แสดงข้อมูลจำนวนผู้ติดสุราในครัวเรือน

มีผู้ติดสุรา 1 คนคิดเป็นร้อยละ 33.3 ของ
ครัวเรือนทั้งหมด
3.1.8 ข้อมูลจำนวนผู้ติดบุหรี่ในครัวเรือน
ตารางที่ 16 แสดงข้อมูลจำนวนผู้ติดบุหรี่ในครัวเรือน

มีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คนคิดเป็นร้อยละ 46.7ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.9 ข้อมูลการเล่นการพนันในครัวเรือนประกอบด้วย การเล่นการพนันของสมาชิกใน
ครัวเรือน และข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่เล่นการพนัน
ตารางที่ 17 แสดงข้อมูลการเล่นพนันของสมาชิกในครัวเรือน

มีเล่นการพนันคิดเป็นร้อยละ 20 ของครัวเรือนทั้งหมด
ตารางที่ 18 แสดงข้อมูลจำนวนสมาชิกที่เล่นการพนันในครัวเรือน

มีผู้เล่นการพนัน 1 คน 1 ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 10 และมีผู้เล่นการพนัน 2 คน 1 ครัวเรือน คิด
เป็นร้อยละ6.7 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.10 ข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกในครัวเรือน ประกอบด้วย ข้อมูลการซื้อ
สลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกในครัวเรือนข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล และข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล
ตารางที่ 19 แสดงข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกในครัวเรือน

มีผู้ซื้อกลากกินแบ่งคิดเป็นร้อยละ 30 ของครัว
เรื่อนทั้งหมด
ตารางที่ 20 แสดงข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล

ร้อยละ 26.7 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล ส่วนใหญ่จะซื้อประมาณ 1 คนใน
ครอบครัว
ตารางที่ 21 แสดงข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล

ส่วนใหญ่ใช้เงินซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลเดือนละ
400 บาท
3.1.11 ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายของครัวเรือน ประกอบด้วย ค่าอาหาร ค่าเช่าบ้านหรือ
ผ่านบ้าน ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ค่าการศึกษาบุตร ค่าเดินทาง ค่าเครื่องใช้ในครัวเรือน ค่า
เครื่องใช้ส่วนตัว และค่ารักษาพยาบาล
ตารางที่ 22 แสดงข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าอาหารของครัวเรือน

ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 1
ตารางที่ 23 แสดงข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านของ
ครัวเรือน

ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 7
ตารางที่ 24 แสดงข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าน้ำ ค่าไฟ และค่าโทรศัพท์ของ
ครัวเรือน

ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ
อันดับ 2, 3
ตารางที่ 25 แสดงข้อมูลระดับควมสำคัญในการ
ใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าการศึกษาของบุตร

ค่าเล่าเรียนบุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ
อันดับ 6
ตารางที่ 26 แสดงข้อมูลระดับควมสำคัญในการ
ใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเดินทาง

ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้
ความสำคัญอันดับ 3, 4
ตารางที่ 27 แสดงข้อมูลระดับควมสำคัญในการ
ใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าของใช้ในครัวเรือน (เช่น สบู่
แชมพู ผงซักฟอก เครื่องใช้ไฟฟ้า ฯลฯ)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่ แชมพู ผงซักฟอก
เครื่องใช้ไฟฟ้า มีความสำคัญอันดับ 4
ตารางที่ 28 ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่าย
เกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัว (เช่น เสื้อผ้า กระเป๋า
รองเท้า ฯลฯ)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัวให้
ความสำคัญอันดับ 6
ตารางที่ 29 แสดงข้อมูลระดับควมสำคัญในการ
ใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาล

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้ความสำคัญ
อันดับ 5
1.2.12 ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน
ประกอบด้วย ข้อมูลการออมเงิน และ
ข้อมูลจำนวนเงินออม
ตารางที่ 30 แสดงข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน

มีการออมเงินร้อยละ 20 ของครัวเรือนทั้งหมด
ตารางที่ 31 แสดงข้อมูลจำนวนเงินออมใน
ครัวเรือน

ร้อยละ 70 ของครัวเรือนไม่มีเงินออม
1.2.13 ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน
ประกอบด้วย ข้อมูลการมีหนี้สิน และ
ข้อมูลจำนวนหนี้สิน
ตารางที่ 32 แสดงข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน

ร้อยละ 70 ของครัวเรือนมีหนี้สิน
ตารางที่ 33 แสดงข้อมูลจำนวนหนี้สินใน
ครัวเรือน

ร้อยละ 46.7 ของครัวเรือนไม่ระบุจำนวนหนี้สิน
1.2.14 ข้อมูลการทำบัญชีรายรับ – รายจ่ายใน
ครัวเรือน
ตารางที่ 34 แสดงข้อมูลการทำบัญชีรายรับ –
รายจ่ายในครัวเรือน

ในชุมชนนี้มีการทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย ร้อยละ
6.7 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.2. ส่วนที่ 2 ข้อมูลด้านที่อยู่อาศัย
3.2.1 ภูมิลำเนาเดิม
ประชาชนที่อาศัยอยู่ในชุมชน มาจากในเขต
กรุงเทพ ฯ ได้แก่ ในเขตทุ่งครุเดิม และ
ต่างจังหวัด ได้แก่ แพร่ เพชรบุรี สมทรปราการ
และ อุตรดิตถ์
3.2.2 ข้อมูลระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในชุมชน
ตารางที่ 35 แสดงข้อมูลระยะเวลาที่อาศัยอยู่ใน
ชุมชน

อาศัยอยู่ในชุมชนในช่วง 5-70 ปี ส่วนใหญ่อาศัย
อยู่ประมาณ 20 ปี
3.2.3 การครอบครองที่อยู่อาศัย ประกอบด้วย
ข้อมูลการครอบครองที่อยู่อาศัย และข้อมูลด้าน
จำนวนพื้นที่อยู่อาศัย
ตารางที่ 36 แสดงข้อมูลการครอบครองที่อยู่
อาศัย

ที่พักอาศัยส่วนใหญ่เป็นบ้านเช่าของร้อยละ 70
ตารางที่ 37 แสดงข้อมูลจำนวนพื้นที่อยู่อาศัย

ส่วนใหญ่มีพื้นที่อยู่อาศัยประมาณ 25 ตรม.
3.2.4 ข้อมูลลักษณะของที่อยู่อาศัย
ตารางที่ 38 แสดงข้อมูลลักษณะของที่อยู่อาศัย

ส่วนใหญ่ที่อยู่อาศัยเป็นแบบบ้านเดี่ยวชั้นเดียว
ร้อยละ 73.3
3.2.5 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินบริเวณ
ที่อยู่อาศัย
ตารางที่ 39 แสดงข้อมูลความปรอดภัยในชีวิต
และทรัพย์สินบริเวณที่อยู่อาศัย

ส่วนใหญ่ร้อยละ 50 เห็นว่ามีความปลอดภัยใน
ระดับปานกลาง
3.2.6 ข้อมูลการถูกรบกวนจากมลภาวะต่าง ๆ
ภายในชุมชน ประกอบด้วย จากขยะ น้ำเน่าเสีย
น้ำท่วม เสีงดังรบกวน การจรารจรติดขัด ฝุ่น
ควัน และอื่น ๆตารางที่ 40 แสดงข้อมูลที่ได้รับความรบกวน
จากขยะ

ส่วนใหญ่ร้อยละ 36.7 เห็นว่าถูกรบกวนจากขยะ
ในระดับน้อย
ตารางที่ 41 แสดงข้อมูลที่ถูกรบกวนจากน้ำเน่า
เสีย

ส่วนใหญ่ร้อยละ 40 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำเสีย
ในระดับปานกลาง
ตารางที่ 42 แสดงข้อมูลที่ถูกรบกวนจากน้ำท่วม

ส่วนใหญ่ร้อยละ 36.7 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำ
ท่วมในระดับน้อย
ตารางที่ 43 แสดงข้อมูลที่ถูกรบกวนจากเสียงดัง

ส่วนใหญ่ร้อยละ 43.3 เห็นว่าถูกรบกวนจากเสียง
ดังในระดับปานกลาง
ตารางที่ 44 แสดงข้อมูลที่ถูกรบกวนจาก
การจราจรติดขัด

ส่วนใหญ่ร้อยละ 33.33 เห็นว่าถูกรบกวนจาก
จราจรติดขัดะในระดับปานกลาง
ตารางที่ 45 แสดงข้อมูลที่ถูกรบกวนจากฝุ่นควัน
และก๊าซพิษ

ส่วนใหญ่ร้อยละ 33.33 เห็นว่าถูกรบกวนจากฝุ่น
ควันและก๊าซพิษในระดับปานกลาง
ตารางที่ 46 แสดงข้อมูลที่ถูกรบกวนจากด้าน
อื่น ๆ

ส่วนใหญ่ร้อยละ100 ไม่ระบุว่าถูกรบกวนจากสิ่ง
อื่นๆ
3.2.7 ข้อมูลการได้รับความช่วยเหลือหรือการ
สนับสนุน จากหน่วยงานต่าง ๆ ในพื้นที่ (เช่น
การได้รับความช่วยเหลือในด้าน ค่าเล่าเรียนบุตร
การส่งเสริมอาชีพ การพ่นหมอกควันกำจัดยุง)
ตารางที่ 47 แสดงข้อมูลการได้รับความช่วยเหลือ
หรือการได้รับการสนับสนุน

ส่วนใหญ่ร้อยละ 73.3 ได้รับความช่วยเหลือจาก
หน่วยงานต่างๆ
สิ่งที่ได้รับการสนับสนุน ประชาชนที่อาศัยอยู่
ในชุมชนส่วนใหญ่แล้ว จะได้รับการสนับสนุน
ในการพ่นหมอกควันกำจัดยุง
ความต้องการของชุมชน ประชาชนที่อาศัยอยู่ใน
ชุมชนส่วนใหญ่แล้วมีความต้องการ จัดทำท่อ
ระบายน้ำ การรักษาพยาบาล การส่งเสริมอาชีพ
และการกำจัดขยะ ตามลำดับ
3.3 ส่วนที่ 3 ข้อมูลด้านการเป็นสมาชิกกลุ่ม
หรือการร่วมทำกิจกรรมที่ได้รับการส่งเสริม
3.3.1 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านสุขภาพ
ประกอบด้วย กิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกาย
ของผู้สูงอายุ เยาวชนรักกีฬา การเต้นแอโรบิค
การรณรงค์งดสูบบุหรี่ การรณรงค์การต่อต้าน
ยาเสพพติด การรณรงค์ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ
จาการจารจร การรณรงค์ป้องกันโรคเบาหวาน
การรณรงค์ป้องกันโรคความดันโลหิต การ
รณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก การตรวจมะเร็ง
ปากมดลูก การตรวจมะเร็งเต้านม และกิจกรรม
เกี่ยวกับสุขภาพในด้านอื่น ๆ โดยมีรายละเอียด
ดังนี้
ตารางที่ 48 แสดงข้อมูลการจัดกิจกรรมออกกำลัง
กายของผู้สูงอายุ

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมสุขภาพ
ตารางที่ 49 แสดงข้อมูลการจัดกิจกรรมเยาวชน
รักกีฬา

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมเยาวชนรักกีฬา
ตารางที่ 50 แสดงข้อมูลกิจกรรมการจัดกิจกรรม
เต้นแอโรบิค

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมเต้นแอโรบิค
ตารางที่ 51 แสดงข้อมูลกิจกรรมการรณรงค์งด
สูบบุหร

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมการรณรงค์งดสูบบุหรี่
ตารางที่ 52 แสดงข้อมูลกิจกรรมการรณรงค์
ต่อต้านยาเสพติด

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมต่อต้านยาเสพติด
ตารางที่ 53 แสดงข้อมูลกิจกรรมการรณรงค์
ป้องกันอุบัติเหตุจากการจารจร

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมอุบัติเหตุจากการจราจร
ตารางที่ 54 แสงดข้อมูลกิจกรรมการรณรค์การ
ป้องกัน และควบคุมโรคเบาหวาน

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมควบคุมโรคเบาหวาน
ตารางที่ 55 แสงดข้อมูลกิจกรรมการรณรงค์
ควบคุมความดันโลหิต

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมควบคุมความดันโลหิต
ตารางที่ 56 แสดงข้อมูลกิจกรรมการรณรงค์
ควบคุมไข้เลือดออก

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมควบคุมไข้เลือดออก
ตารางที่ 57 แสดงข้อมูลกิจกรรมการตรวจมะเร็ง
ปากมดลูก

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมตรวจมะเร็งปากมดลูก
ตารางที่ 58 แสดงข้อมูลกิจกรรมการตรวจมะเร็ง
เต้านม

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมตรวจมะเร็งเต้านม
3.3.2 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านอาชีพ
ประกอบด้วย การฝึกอบรมส่งเสริมอาชีพ การ
ส่งเสริมการท่องเที่ยว การส่งเสริมรายได้พิเศษ
ของเด็ก เกษตรพอเพียง กลุ่มแม่บ้าน และ กลุ่ม
OTOP โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ตารางที่ 59 แสงข้อมูลการฝึกอาชีพเสริม

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมฝึกอาชีพเสริม
ตารางที่ 60 แสดงข้อมูลกิจกรรมการส่งเสริมการ
ท่องเที่ยว

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว
ตารางที่ 61 แสดงข้อมูลกิจกรรมการส่งเสริม
รายได้พิเศษของเด็ก

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมรายได้พิเศษ
ตารางที่ 62 แสดงข้อมูลกิจกรรมชีวิตพอเพียง
ตามแนวพระราชดำริ

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมชีวิตพอเพียงตามแนวพระราชดำริ
ตารางที่ 63 แสดงข้อมูลกิจรรมการจัดตั้งกลุ่ม
แม่บ้าน

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมการจัดตั้งกลุ่มแม่บ้าน
ตารางที่ 64 แสดงข้อมูลกลุ่ม OTOP

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกลุ่ม OTOP
3.3.3 ข้อมูลด้านการออมทรัพย์ ประกอบด้วย
การทำบัญชีรายรับ-จ่าย กองทุนหมุ่บ้าน กลุ่ม
ฌาปณกิจ กองทุนประกอบอาชีพ และกองทุน
ร้านค้าในชุมชน โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ตารางที่ 65 แสงดข้อมูลการทำบัญชีครัวเรือน
(รายรับ – จ่าย)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมทำบัญชีครัวเรือน
ตารางที่ 66 แสดงข้อมูลกองทุนหมู่บ้าน

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกองทุนหมู่บ้าน
ตารางที่ 67 แสดงข้อมูลกลุ่มฌาปนกิจ

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกลุ่มฌาปนกิจ
ตารางที่ 68 แสดงข้อมูลกลุ่มออมทรัพย์

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์
ตารางที่ 69 แสดงข้อมูลกองทุนอาชีพ

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกองทุนอาชีพ
ตารางที่ 70 แสดงข้อมูลร้านค้าชุมชน

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมร้านค้าชุมชน
3.3.4 ข้อมูลด้านศาสนาและศิปวัฒนธรรม
ประกอบด้วย การอนุรักษ์ศิปวัฒนธรรม การ
ทำบุญตักบาตร กิจกรรมวันปีใหม่ การส่งเสริม
ศิลปวัฒนธรรม และการผึกปฏิบัติเกี่ยวกับศาสน
พิธี โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ตารางที่ 71 แสดงข้อมูลการอนุรักษ์ศิลปะและ
วัฒนธรรม

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
อนุรักษ์ศิลปะและวัฒนธรรม
ตารางที่ 72 แสดงข้อมูลการทำบุญตักบาตร

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
ทำบุญตักบาตร
ตารางที่ 73 แสดงข้อมูลการทำกิจกรรมในวันปี
ใหม่ และสงกรานต

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
วันปีใหม่และสงกรานต์
ตารางที่ 74 แสดงข้อมูลการส่งเสริม
ศิลปะวัฒนธรรม

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
ส่งเสริมศิลปะวัฒนธรรม
ตารางที่ 75 แสดงข้อมูลการฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับศา
สนพิธีและวันสำคัญทางศาสนา

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมศาสนพิธีและวันสำคัญทางศาสนา
3.3.5 ข้อมูลด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคมที่
เกิดขึ้นในชุมชน ประกอบด้วย การป้องกัน
ยาเสพติด กลุ่มผู้สูงอายุ กิจกรรมเพื่อเยาวชน การ
ป้องกันการขโมย กิจกรรมห่วงใยวัย 70 ปี
ส่งเสริมสถาบันทางครอบครัว การสงเคราะห์
ผู้ด้อยโอกาส การเลี้ยงดูผู้พิการ กองทุนพัฒนา
ชุมชน และกองทุนผู้สูงอายุ โดยมีรายละเอียด
ดังนี้
ตารางที่ 76 แสดงข้อมูลการการป้องกันยาเสพติด

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
ป้องกันยาเสพติด
ตารางที่ 77 แสดงข้อมูลกลุ่มผู้สูงอายุ

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
กลุ่มผู้สูงอายุ
ตารางที่ 78 แสดงข้อมูลการจัดกิจกรรมเพื่อ
เยาวชน

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
เพื่อเยาวชน
ตารางที่ 79 แสดงข้อมูลการป้องกันการขโมย

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
ป้องกันขโมย
ตารางที่ 80 แสดงข้อมูลกิจกรรมห่วงใยวัย 70 ปี

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
ห่วงใยวัย 70 ปี
ตารางที่ 81 แสดงข้อมูลการส่งเสริมสถาบันทาง
ครอบครัว

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
ส่งเสริมสถาบันทางครอบครัว
ตารางที่ 82 แสดงข้อมูลการสงเคราะห์
ผู้ด้อยโอกาส ด้านการศึกษา อาชีพ

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
สงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส
ตารางที่ 83 แสดงข้อมูลการเลี้ยงดูผู้พิการ

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
เลี้ยงดูผู้พิการ
ตารางที่ 84 แสดงข้อมูลกองทุนพัฒนาชุมชน

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
กองทุนพัฒนาชุมชน
ตารางที่ 85 แสดงข้อมูลกองทุนผู้สูงอายุ

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
กองทุนผู้สูงอายุ
ตารางที่ 86 การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ในด้านการ
แก้ไขปัญหาสังคม

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
อื่น ๆ
3.3.6 ข้อมูลด้านการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อม
ประกอบด้วย การเฝ้าระวังุณภาพน้ำ การประกวด
ชุมชนน่าอยู่ การเก็บขยะในชุมชน การอบรมการ
นุรักษ์สิ่งแวดล้อม การขุดลอกคูคลอง การปลูก
ต้นไม้ให้สวยงาม ปรับปรุงหรือซ่อมแซม
สาธารณูปโภค เช่น ท่อระบายน้ำ ไฟฟ้าในชุมชน
จัดคนในชุมชนเป็นผู้ทำความสะอาด และการ
รณรงค์ให้ทิ้งขยะในถัง โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ตารางที่ 87 แสดงข้อมูลการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำ

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
เฝ้าระวังคุณภาพน้ำ
ตารางที่ 88 แสดงข้อมูลการประกวดชุมชนน่าอยู่

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
ประกวดชุมชนน่าอยู่
ตารางที่ 89 แสดงข้อมูลการเก็บขยะในชุมชน

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
เก็บขยะในชุมชน
ตารางที่ 99 แสดงข้อมูลการอบรมอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อม

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ตารางที่ 100 แสดงข้อมูลการขุดลอกคูคลอง

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
ขุดลอกคูคลอง
ตารางที่ 101 แสดงข้อมูลการปลูกต้นไม้ให้
สวยงาม

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
ปลูกต้นไม้
ตารางที่ 102 แสดงข้อมูลการปรับปรุงหรือ
ซ่อมแซมสาธารณูปโภค เช่น ท่อระบายน้ำ และ
ไฟฟ้า

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
ปรับปรุงซ่อมแซมสาธารณูปโภค
ตารางที่ 93 แสดงข้อมูลการจัดคนในชุมชนเป็น
ผู้ทำความสะอาดเพื่อให้มีรายได้

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
จัดคนในชุมชนเป็นผู้ทำความสะอาดให้มีรายได้
ตารางที่ 94 แสดงข้อมูลการรณรงค์ให้ทิ้งขยะใน
ถังขยะ และการจัดที่ใส่ขยะให้เป็นที่เรียบร้อย

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
รณรงค์ให้ทิ้งขยะในถังขยะ
3.3.7 ข้อมูลด้านการเมืองการปกครองภายใน
ชุมชน ประกอบด้วย การรณรงค์ให้ไปใช้สิทธิ์
เลือกตั้งทุก ๆ ครั้ง และการอบรมให้ความรุ้
เกี่ยวกับการเมือง โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ตารางที่ 95 แสดงข้อมูลการรณรงค์ให้ไปใช้สิทธิ์
เลือกตั้งทุก ๆ ครั้ง ที่มีการเลือกตั้ง

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
รณรงค์ให้ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้ง
ตาราง 96 แสดงข้อมูลการอบรมให้ความรู้
เกี่ยวกับการเมือง

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
ให้ความรู้เกี่ยวกับการเมือง

 

สรุปข้อมูลจากการสำรวจโดยแบบสอบถามระหว่างวันที่ …..................
      สำรวจโดยใช้แบบสอบถามจากครัวเรือนทั้งหมด 25 ครัวเรือนคิดเป็น 60 เปอร์เซนต์ของครัวเรือน
ทั้งหมดในชุมชน ในครัวเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนนี้มีสมาชิก 5 คน ชุมชนหลัง สน. ประชากรประกอบ
ด้วยเพศชาย ร้อยละ 41.18 เพศหญิงร้อยละ 58.82 ชุมชนหลัง สน. ประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง 0-10
ปี คิดเป็นร้อยละ 18.49 และผู้สูงอายุร้อยละ 9.24 ชุมชนหลัง สน. ประชากรส่วนใหญ่มีการศึกษาในระดับ
ประถมศึกษา ชุมชนหลัง สน. ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ชุมชนหลัง สน. ประชากรส่วนใหญ่
มีรายได้อยู่ในช่วง 5001-10000 บาท ชุมชนหลัง สน. ประชากรส่วนใหญ่มีรายจ่ายอยู่ในช่วง 5001 – 10000
บาท ชุมชนหลัง สน. ประชากรส่วนใหญ่ไม่มีอาชีพเนื่องจากเป็นเด็ก รองลงมา ประกอบอาชีพรับจ้าง คิด
เป็นร้อยละ 38.4 คนในชุมชนร่วมใจส่วนใหญ่ร้อยละ 96 ไม่มีอาชีพเสริม โรคประจำตัว ของคนในชุมชน
หลัง สน. ได้แก่ หอบหืด ความดันโลหิต เบาหวาน หัวใจ คนในชุมชนแยกกันอยู่ร้อยละ 23.3 หย้าร้างร้อย
ละ 10 คนในชุมชนหลัง สน. ร้อยละ 33 ทะเลาะกันอาทิตย์ละ1-2 ครั้ง ในครัวเรือนในชุมชนส่วนใหญ่มี
คนว่างงาน ประมาณ 2 คน มีอยู่ประมาณ 1 ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็นร้อยละ 3.3 ของครัวเรือนทั้งหมด
มีผู้ติดสุรา 1 คนคิดเป็นร้อยละ 33.3 ของครัวเรือนทั้งหมด มีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คนคิดเป็นร้อยละ 46.7
ของครัวเรือนทั้งหมด มีเล่นการพนันคิดเป็นร้อยละ 20 ของครัวเรือนทั้งหมด มีผู้เล่นการพนัน 1 คน 1
ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 10 และมีผู้เล่นการพนัน 2 คน 1 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ6.7 ของครัวเรือนทั้งหมด
มีผู้ซื้อกลากกินแบ่งคิดเป็นร้อยละ 30 ของครัวเรื่อนทั้งหมด ร้อยละ 26.7 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลาก
กินแบ่งรัฐบาล ส่วนใหญ่จะซื้อประมาณ 1 คนในครอบครัว ส่วนใหญ่ใช้เงินซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลเดือน
ละ 400 บาท ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 1 ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 2, 3 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้ความสำคัญอันดับ 3, 4 ค่าใช้จ่าย
เกี่ยวกับสบู่ แชมพู ผงซักฟอก เครื่องใช้ไฟฟ้า มีความสำคัญอันดับ 4ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้
ความสำคัญอันดับ 5 ค่าเล่าเรียนบุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 6 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้
ส่วนตัวให้ความสำคัญอันดับ 6 ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 7 มีการ
ออมเงินร้อยละ 20 ของครัวเรือนทั้งหมด ร้อยละ 70 ของครัวเรือนไม่มีเงินออม ร้อยละ 70 ของครัวเรือนมี
หนี้สิน ร้อยละ 46.7 ของครัวเรือนไม่ระบุจำนวนหนี้สิน ในชุมชนนี้มีการทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย ร้อยละ
6.7 ของครัวเรือนทั้งหมด ภูมิลำเนาเดิม ประชาชนที่อาศัยอยู่ในชุมชน มาจากในเขตกรุงเทพ ฯ ได้แก่ ใน
เขตทุ่งครุเดิม และต่างจังหวัด ได้แก่ แพร่ เพชรบุรี สมทรปราการ และ อุตรดิตถ์ อาศัยอยู่ในชุมชนในช่วง
5-70 ปี ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ประมาณ 20 ปี ที่พักอาศัยส่วนใหญ่เป็นบ้านเช่าของร้อยละ 70 ส่วนใหญ่มีพื้นที่
อยู่อาศัยประมาณ 25 ตรม. ส่วนใหญ่ที่อยู่อาศัยเป็นแบบบ้านเดี่ยวชั้นเดียวร้อยละ 73.3 ส่วนใหญ่ร้อยละ
50 เห็นว่ามีความปลอดภัยในระดับปานกลาง ส่วนใหญ่ร้อยละ 36.7 เห็นว่าถูกรบกวนจากขยะในระดับ
น้อย ส่วนใหญ่ร้อยละ 40 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำเสียในระดับปานกลาง ส่วนใหญ่ร้อยละ 36.7 เห็นว่าถูก
รบกวนจากน้ำท่วมในระดับน้อย ส่วนใหญ่ร้อยละ 43.3 เห็นว่าถูกรบกวนจากเสียงดังในระดับปานกลาง
ส่วนใหญ่ร้อยละ 33.33 เห็นว่าถูกรบกวนจากจราจรติดขัดะในระดับปานกลาง ส่วนใหญ่ร้อยละ 33.33 เห็น
ว่าถูกรบกวนจากฝุ่นควันและก๊าซพิษในระดับปานกลาง ส่วนใหญ่ร้อยละ100 ไม่ระบุว่าถูกรบกวนจากสิ่ง
30
อื่นๆ ส่วนใหญ่ร้อยละ 73.3 ได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆ สิ่งที่ได้รับการสนับสนุน
ประชาชนที่อาศัยอยู่ในชุมชนส่วนใหญ่แล้ว จะได้รับการสนับสนุนในการพ่นหมอกควันกำจัดยุง ความ
ต้องการของชุมชน ประชาชนที่อาศัยอยู่ในชุมชนส่วนใหญ่แล้วมีความต้องการ จัดทำท่อระบายน้ำ การ
รักษาพยาบาล การส่งเสริมอาชีพ และการกำจัดขยะ ตามลำดับ

      ในด้านการเข้าร่วมกิจกรราชุมชนส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมสุขภาพ
ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมเยาวชนรักกีฬา ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมเต้นแอโรบิค ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมการรณรงค์งดสูบบุหรี่ ส่วนใหญ่
ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมต่อต้านยาเสพติด ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมอุบัติเหตุจากการจราจร ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมควบคุมโรคเบาหวาน
ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมควบคุมความดันโลหิต ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุ
การเข้าร่วมกิจกรรมควบคุมไข้เลือดออก ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมตรวจมะเร็ง
ปากมดลูก ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมตรวจมะเร็งเต้านม ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่
ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมฝึกอาชีพเสริม ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการ
ท่องเที่ยว ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมรายได้พิเศษ ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุ
การเข้าร่วมกิจกรรมชีวิตพอเพียงตามแนวพระราชดำริ ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
การจัดตั้งกลุ่มแม่บ้าน ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม OTOP ส่วนใหญ่ร้อยละ
56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมทำบัญชีครัวเรือน ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
กองทุนหมู่บ้าน ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มฌาปนกิจ ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7
ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์ ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกองทุน
อาชีพ ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมร้านค้าชุมชน ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้า
ร่วมกิจกรรมอนุรักษ์ศิลปะและวัฒนธรรม ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมทำบุญตักบาตร
ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมวันปีใหม่และสงกรานต์ ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการ
เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมศิลปะวัฒนธรรม ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมศาสนพิธีและวัน
สำคัญทางศาสนา ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมป้องกันยาเสพติด ส่วนใหญ่ร้อยละ 60
ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อเยาวชน
ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมป้องกันขโมย ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมห่วงใยวัย 70 ปี ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมสถาบันทางครอบครัว
ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการ
เข้าร่วมกิจกรรมเลี้ยงดูผู้พิการ ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกองทุนพัฒนาชุมชน
ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกองทุนผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมอื่น ๆ ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมเฝ้าระวังคุณภาพน้ำ ส่วนใหญ่ร้อยละ 60
ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมประกวดชุมชนน่าอยู่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมเก็บขยะ
ในชุมชน ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่
ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมขุดลอกคูคลอง ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้
ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมปรับปรุงซ่อมแซมสาธารณูปโภค ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่
ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมจัดคนในชุมชนเป็นผู้ทำความสะอาดให้มีรายได้ ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการ
เข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์ให้ทิ้งขยะในถังขยะ ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์ให้ไป
ใช้สิทธิ์เลือกตั้ง ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเมือง