ชุมชนมิตรไมตรี
ชุมชนมิตรไมตรี แขวง ทุ่งครุ เขต ทุ่งครุ จังหวัด กรุงเทพมหานคร
1. ข้อมูลพื้นฐานของชุมชน
1.1 ประวัติและความเป็นมาของชุมชน
    ชุมชนมิตรไมตรี อยู่ในซอยประชาอุทิศ 54 ซึ่งแต่เดิมเป็นซอยมิตรไมตรี พื้นที่เดิมเป็นท้องนา เป็น
คุ้งน้ำ มีบ้านตั้ง 1 หลังดั้งเดิม อาชีพแต่เดิมปลูกข้าว แล้วมาปลูกส้มเป็นที่รู้จักกันในนามของ “ส้มบางมด”
ปัจจุบันคนในชุมชนประกอบอาชีพรับจ้างและค้าขาย ชุมชนนี้ได้เป็นชุมชนที่มีคนหมุนเวียนเข้ามาอยู่
ประมาณ 30 ปี แต่เพิ่งมาก่อตั้งประมาณ 6 ปีที่แล้ว ประธานชุมชนคนปัจจุบันชื่อ ดวงใจ รัตนาภิรมย์ ซึ่งอยู่
ในวาระสลับกันไปวาระละ 2 ปีเริ่มก่อตั้งในปี พ.ศ. 2544 หรือประมาณ 6ปีมาแล้ว คนกลุ่มแรกที่มาตั้ง
หมู่บ้าน ส่วนใหญ่เป็นคนดั้งเดิม ในพื้นที่ชุมชนมิตรไมตรี ส่วนชุมชนที่อพยพมาจะเป็นคนภาคใต้ ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ และคนเขมร

1.2 โครงสร้างพื้นฐานชุมชนเริ่มเข้าไปพัฒนาเมื่อสมัยอดีตถนนหนทางยังไม่มี เป็นคลอง ต้องใช้เรือเป็น
    พาหนะ แต่ในปัจจุบันมีถนนลาดยางมะตอยซึ่งเข้ามาประมาณ 10 ปีที่ผ่านมา
ไฟฟ้า มีเข้ามาประมาณ 30 ปีก่อน
น้ำประปา มีเข้ามาประมาณ 20 ปีก่อน
อื่นๆ /วัด
    สำนักงานเขตทุ่งครุ, วัดกลางนา และวัดทุ่งครุเป็นศูนย์รวมจิตใจ และเป็นสถานที่ประกอบ
กิจกรรมทางศาสนา, สถานีตำรวจราษฎร์บูรณะ

1.3 สภาพปัจจุบัน ประชาชนทั้งหมด 875 คน ชาย 485 คน หญิง 390 คน ในหมู่บ้าน/ชุมชนมี
    ครอบเรือน 190 ครอบครัว มีบ้าน 75 หลังคาเรือน

1.4 วัฒนธรรม/ประเพณี/ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในอดีต-ปัจจุบัน
    ในอดีตถึงปัจจุบัน วันสำคัญที่คนในชุมชนจะมีการทำกิจกรรมร่วมกัน เช่น วันปีใหม่ วัน
สงกรานต์ วันเด็ก เป็นต้น คือ มีการนิมนต์พระสงฆ์มาเจริญพระพุทธมนต์ รดน้ำดำหัวผู้ใหญ่ในชุมชน การ
ประกวดร้องเพลงของเด็ก

1.5 ปัญหาสำคัญภายในชุมชนมีดังนี้
    1. ปัญหาขโมย
    2. ปัญหายาเสพติด
    3. ปัญหาอาชญากรรม

1.6 การทำงานร่วมกับหน่วยงานภายนอกชุมชนทั้งภาครัฐและเอกชน
    ศูนย์สุขภาพชุมชน เป็นสถานที่รักษาคนเจ็บไข้ได้ป่วยโดยไม่เก็บค่าบริการ จัดตั้งโดยการรวมกลุ่ม
คนในชุมชน

1.7 แผนที่ชุมชน

1.8 ภาพสภาพแวดล้อมของชุมชน

2. ข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์คณะกรรมการชุมชน
ชื่อชุมชน ชุมชนมิตรไมตรี
ชื่อผู้ให้สัมภาษณ์ นางสาวดวงใจ รัตนาภิรมย์ ตำแหน่ง/หน้าที่ ประธานชุมชน
    1. ที่ตั้งของชุมชน
    2. อาณาเขตติดต่อ
      - ทิศเหนือติดกับ ที่ดินเอกชน
      - ทิศตะวันออกติดกับ ซอยมิตรไมตรี1
      - ทิศใต้ติดกับ ที่ดินเอกชน
      - ทิศตะวันตกติดกับ ซอยมิตรไมตรี 2 และลำปะโดง

    3. คณะกรรมการชุมชนมีบทบาทในการพัฒนาหรือการปกครองชุมชนอย่างไรบ้าง


    4. ภายในชุมชนมีสถานที่สำคัญอะไรบ้างและมีความเป็นมาอย่างไร


    5. ชุมชนมีกฏระเบียบหรือข้อบังคับในการอยู่ร่วมกันภายในชุมชนอย่างไรบ้าง


    6. ชุมชนมีนโยบายหรือแผนในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง

    7. ในชุมชนมีปัญหาอะไรบ้าง
      - ปัญหาด้านสังคม
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหายาเสพติด ปัญหาลักเล็กขโมยน้อย ปัญหาวิ่งราว
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาฆาตกรรม ปัญหาการอย่าร้าง ปํญหาผู้สูงอายุถูก
ทอดทิ้ง

      - ปัญหาด้านเศรษฐกิจ
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาหนี้นอกระบบ ปัญหาหนี้ในระบบ ปัญหารายได้
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาขาดโอกาสในการประกอบอาชีพใหม่

      - ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการจราจรที่หนาแน่น
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาผิวจราจรชำรุด ปัญหาการจราจร ปัญหาการขยาย
เครือข่ายของการไฟฟ้าที่ไม่ทั่วถึง ปัญหาการสื่อสารแลโทรคมนาคม

      - ปัญหาด้านสารธารณสุข
        มาก มีปัญหา การแพร่ระบาดของโรคที่มีสัตว์นำโรค ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ
ปัญหาการติดบุหรี่
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง - ปัญหาอุบัติเหตุทางการจราจร
        น้อย ความเสี่ยงในการมีเพศสัมพันธ์

      - ปัญหาด้านการศึกษา
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง - ปัญหาขาดโอกาสทางการศึกษา ปัญหาการศึกษา
ในโรงเรียนยังขาดแคนงบประมาณหรือทุนการศึกษา ปัญหาการผู้สอนไม่เพียงพอกับนักเรียน
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง

      - ปัญหาด้านศาสนา
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง - ขาดความร่วมมือทำนุบำรุงศาสนาอย่างเป็นระบบ
รวมทั้งขาดการสร้างเครือข่าย การกำหนดบทบาทหน้าที่ของกรรมการศาสนนา ไม่มีควมชัดเจนและ
เหมาะสมกับภารกิจ

      - ปัญหาด้านประเพณีและวัฒนธรรม

      - ปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง น้ำเน่าเสีย และขาดการการฟื้นฟูรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -ปัญหาขยะมูลฝอย
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง -

      - ปัญหาด้านการเมืองการบริหาร
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง - สถานที่ราชการไม่เพียงพอต่อประชาชนคับแคบและไม่
เพียงพอต่อความต้องการ
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -การให้บริการข้อมูลข่าวสารและการเผยแพร่
ประชาสัมพันธ์ยังไม่ทั่วถึงและเพียงพอ
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง -

    8. จงเรียงลำดับความสำคัญของปัญหาที่ชุมชนต้องแก้ไขเร่งด่วนมากที่สุด เพราะอะไร
      8.1 ยาเสพติด
      8.2โจร ขโมย
      8.3 ปัญหาขยะ
      8.4 ปัญหาวัยรุ่น

9. ในชุมชนมีกลุ่มกิจกรรมอะไรบ้างที่ทางราชการและเอกชนเข้ามาส่งเสริม
    - ด้านสุขภาพ
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง กิจกรรมรณรงค์ต่อต้านการเผยแพร่ระบาดของยาเสพติดใน
ชุมชน , กิจกรรมรณรงค์ควบคุมป้องกันควบคุมโรคเบาหวาน ควบคุมโรคความดันโลหิต, กิจกรรมรณรงค์
ควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก,กิจกรรมตรวจมะเร็งปากมดลูก, กิจกรรมตรวจมะเร็งเต้านม

    - ด้านอาชีพ
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง การฝึกอบรมอาชีพเสริม, กิจกรรมชีวิตพอเพียงตามแนว
พระราชดำริ,

    - ด้านการออมทรัพย์
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง การทำบัญชีครัวเรือน
    - ด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง การทำบุญตักบาตร กิจกรรมวันปีใหม่และวันสงกรานต์, การ
ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

    - ด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง การป้องกันยาเสพติด, การรวมกลุ่มกิจกรรมของผู้สูงอายุ,
กิจกรรมเพื่อเยาวชน, กิจกรรมห่วงใยวัย 70 ปี,การสงเคราะห์ผู้โดยโอกาสทางการศึกษา

    - ด้านการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อม
      มี กิจกรรม เก็บขยะในชุมชน, การขุดคูคลอง, การอบรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม,
รณรงค์ให้ทิ้งขยะในถังขยะจัดที่ใส่ขยะให้เป็นระเบียบ,ปรับปรุงหรือซ่อมแซมสาธารณูปโภค เช่น ท่อ
ระบายน้ำ ไฟฟ้าในซอย

    - ด้านการเมืองการปกครอง
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง รณรงค์ให้ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งทุก ๆ ครั้งที่มีการเลือกตั้ง,

10. ชุมชนมีโครงการในการพัฒนาชุมชนอะไรบ้างและแต่ละโครงการมีกิจกรรมอย่างไร
11. คนดีและเก่งที่เป็นกำลังสำคัญในชุมชน
    - ด้านการทำอาหาร
      ขนมไทยและการทำอาหารคาวหวาน – นางสาวจันฟอง คำวิชัย

    - ด้านการช่าง
      ช่างไม้ ตาเปา
      ช่างปูน ตาสาน
      ช่างซ่อมเครื่องใช้จำพวกอิเลคโทรนิค การขุดคูคลอง
      ช่างซ่อมรถ การขุดคูคลอง
      ช่างไฟ ตาสาน

    - ด้านการเกษตร

    - ด้านศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม (ทุกศาสนาที่มีอยู่ในชุมชน)
      ผู้นำการในการทำศาสนพิธีของศาสนา วิชา ศรีพร้อม, ชุติมา สำรวมไพรัตน์

    - ด้านการแพทย์แผนไทย

    - ด้านการประดิษฐ์

    - ด้านอื่น ๆ

    จุดอ่อน - จำนวนครัวเรือนเยอะไป
              - ความร่วมมือน้อย
              - กิจกรรมน้อย ทำความสะอาด

13. รายชื่อคณะกรรมการหมู่บ้าน
    1. นางสาวดวงใจ รัตนภิรมย์     ตำแหน่ง ประธาน
    2. นางพัชนี บุญส่ง                  ตำแหน่ง เลขานุการ
    3. นางมณฑา สร้อยพันธ์มี         ตำแหน่ง เหรัญญิก
    4.นางบานเย็น พานรัมย์            ตำแหน่ง นายทะเบียน
    6. นางสาวจันทร์ฟอง คำวิชัย     ตำแหน่ง ประชาสัมพันธ์
    7.นางกฤษณา เฉลิมวงศ์            ตำแหน่งปฏิคม
    8. นายประยูร อยู่สุข                ตำแหน่งรักษาความปลอดภัย
    9. นางสุกัญา ดุลสวัสดิ             ตำแหน่งรักษาควมสะอาด

14. รายชื่อพัฒนาชุมชน (อช.)

15. รายชื่ออาสาสาธารณประจำชุมชน (อส.ม)
    1. นางสาวดวงใจ รัตนภิรมย์
    2. นางมณฑา สร้อยพันธ์มี
    3.นางบานเย็น พานรัมย์
    4. นางสาวจันทร์ฟอง คำวิชัย
    5.นางกฤษณา เฉลิมวงศ์
    6. นางสุกัญา ดุลสวัสดิ

16. ในชุมชนมีสิ่งที่ทำให้สมาชิกในชุมชนมีความภาคภูมิใจอะไรบ้างเพราะอะไร
    ศูนย์สุภาพชุมชน

17. ชุมชนมีความต้องการหรือความคาดหวังในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง
    เข้ามาช่วยดูแลปัญหาหลักๆของชุมชน

3. ข้อมูลแบบสอบถามของชุมชน
3.1. ส่วนที่ 1 ข้อมูลด้านประชากรของสมาชิกในครัวเรือน
3.1.1 ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนของชุมชนประกอบด้วย ข้อมูลรวมของสมาชิกในครัวเรือน
ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเพศชาย และข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเพศหญิง
ตารางที่ 1 แสดงร้อยละของครัวเรื่องที่มีสมาชิก 1-7 คน

ครัวเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนนี้มีสมาชิกประมาณ
1-5 คนต่อครัวเรือน
3.1.2 ข้อมูลส่วนบุคคลของสมาชิกในครัวเรือน
ทั้งหมด
ตารางที่ 2 ร้อยละของเพศชายและเพศหญิง

ประชากรประกอบด้วยเพศชาย ร้อยละ 39.9 เพศ
หญิงร้อยละ 55.4

ตาราง 3 ร้อยละของอายุประชากรในชุมชน

ชุมชนมิตรไมตรี ประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่
ในช่วง 0-10 ปี
ตาราง 4 ระดับการศึกษา

ชุมชนมิตรไมตรี ประชากรส่วนใหญ่มีการศึกษา
ในระดับประถมศึกษา
ตาราง 5 การนับถือศาสนา

ชุมชนมิตรไม่ตรี ประชากรส่วนใหญ่นับถือ
ศาสนาพุทธ
ตาราง 6 รายได้ของคนในชุมชน

ชุมชนมิตรไมตรี ประชากรส่วนใหญ่มีรายได้อยู่
ในช่วง 1-5000 บาท
ตาราง 7 รายจ่ายของคนในชุมชน

ชุมชนมิตรไมตรี ประชากรส่วนใหญ่มีรายจ่ายอยู่
ในช่วง 1-5000 บาท

ตาราง 8 อาชีพหลัก ของคนในชุมชน

ชุมชนมิตรไมตรี ประชากรส่วนใหญ่ประกอบ
อาชีพหลักคือ รับจ้าง
ตาราง 9 อาชีพเสริม ของคนในชุมชน

คนในชุมชนร่วมใจส่วนใหญ่ไม่มีอาชีพเสริม
ตาราง 10 โรคประจำตัวของคนในชุมชน

โรคประจำตัว ของคนในชุมชนมิตรไมตรี ได้แก่
ความดันโลหิต
ตารางที่ 11 สถานะภาพครอบครัวในชุมชน

คนในชุมชนอยู่ด้วยกันประมาณ ร้อยละ 37.5
3.1.4 ข้อมูลความขัดแย้งหรือการทะเลาะกันใน
ครัวเรือน (ตารางที่ 12)

คนในชุมชนร้อยละ 22.2 ไม่ทะเลาะกัน
3.1.6 ข้อมูลจำนวนผู้พิการในครัวเรือน (ตารางที่
14)

มีอยู่ประมาณ 1 ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็นร้อยละ 1.4 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.7 ข้อมูลจำนวนผู้ติดสุราในครัวเรือน (ตารางที่ 15)

มีผู้ติดสุรา 1คนคิดเป็นร้อยละ 2.8 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.8 ข้อมูลจำนวนผู้ติดบุหรี่ในครัวเรือน (ตารางที่ 16)

มีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คนคิดเป็นร้อยละ 11.1
ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.9 ข้อมูลการเล่นการพนันในครัวเรือน
ประกอบด้วย การเล่นการพนันของสมาชิกใน
ครัวเรือน และข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่
เล่นการพนัน
ข้อมูลการเล่นพนันของสมาชิกในครัวเรือน
(ตารางที่ 17)

ร้อยละ 9.7 ของครัวเรือนทั้งหมด เล่นการพนัน
ข้อมูลจำนวนสมาชิกที่เล่นการพนันในครัวเรือน
(ตารางที่ 18)

มีผู้เล่นการพนัน 1-2 คน 6 ครอบครัว คิดเป็นร้อย
ละ 8.4 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.10 ข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของ
สมาชิกในครัวเรือน ประกอบด้วย ข้อมูลการซื้อ
สลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกในครัวเรือน
ข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล และข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล
ข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกใน
ครัวเรือน (ตารางที่ 19)

ร้อยละ 26.4 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล
ข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล (ตารางที่ 20)

ร้อยละ 9.7 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่ง
รัฐบาล ส่วนใหญ่จะซื่อประมาณ 1 คนใน
ครอบครัว
ข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล
(ตารางที่ 21)

ส่วนใหญ่ใช้เงินซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลเดือนละ
200 บาท
3.1.11 ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายของ
ครัวเรือน ประกอบด้วย ค่าอาหาร ค่าเช่าบ้านหรือ
ผ่านบ้าน ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ค่าการศึกษา
บุตร ค่าเดินทาง ค่าเครื่องใช้ในครัวเรือน ค่า
เครื่องใช้ส่วนตัว และค่ารักษาพยาบาล
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าอาหารของครัวเรือน (ตารางที่ 22)

ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ
อันดับ 1
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านของครัวเรือน (ตารางที่ 23)

ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 1
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
น้ำ ค่าไฟ และค่าโทรศัพท์ของครัวเรือน
(ตารางที่ 24)

ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 2
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
การศึกษาของบุตร (ตารางที่ 25)

ค่าเล่าเรียนบุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 16.7
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เดินทาง (ตารางที่ 26)

ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้
ความสำคัญอันดับ 4
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
ของใช้ในครัวเรือน (เช่น สบู่ แชมพู ผงซักฟอก
เครื่องใช้ไฟฟ้า ฯลฯ) (ตารางที่ 27)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่ แชมพู ผงซักฟอก
เครื่องใช้ไฟฟ้า มีความสำคัญอันดับ 15.3
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เครื่องใช้ส่วนตัว (เช่น เสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้า ฯลฯ)
(ตารางที่ 28)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัวให้
ความสำคัญอันดับ 6
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
รักษาพยาบาล (ตารางที่ 29)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้ความสำคัญอันดับ 7
3.1.12 ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน
ประกอบด้วย ข้อมูลการออมเงิน และข้อมูลจำนวนเงินออม
ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน (ตารางที่ 30)

มีการออมเงินร้อยละ 27.8 ของครัวเรือนทั้งหมด
ข้อมูลจำนวนเงินออมในครัวเรือน (ตารางที่ 34)

ร้อยละ4.7 ของครัวเรือนมีเงินออม 50000 บาทต่อ
ครัวเรือน
3.1.13 ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน
ประกอบด้วย ข้อมูลการมีหนี้สิน และข้อมูล
จำนวนหนี้สิน
ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน (ตารางที่ 32)

ร้อยละ 27.8 ของครัวเรือนมีหนี้สิน
ข้อมูลจำนวนหนี้สินในครัวเรือน (ตารางที่ 36)

ร้อยละ 16.8 ของครัวเรือนมีหนี้สินประมาณ 1-
5000 บาทต่อครัวเรือน
3.1.14 ข้อมูลการทำรายรับ – รายจ่าย (ตารางที่ 34)

ร้อยละ 40.3 ไม่มีครอบครัวใดที่ทำบัญชีรายรับ-
รายจ่าย
3.2. ส่วนที่ 2 ข้อมูลด้านที่อยู่อาศัย
3.2.1 ภูมิลำเนาเดิม
3.2.2 ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในชุมชน (ตารางที่ 35)

ส่วนใหญ่เป็นเจ้าของร้อยละ 30.6
จำนวนพื้นที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 37)

ชุมชนส่วนใหญ่มีพื้นที่อาศัยอยู่ประมาณ 0-25
ตรว.
3.2.4 ลักษณะของที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 41)

ส่วนใหญ่อาศัยแบบบ้านเดี่ยวสองชั้นร้อยละ 27.8
3.2.5 บริเวณที่อยู่อาศัยของท่านมีความปลอดภัย
ในชีวิตและทรัพย์สินหรือไม่ (ตารางที่ 39)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 38.9 เห็นว่ามีความปลอดภัยใน
ระดับปานกลาง
3.2.6 ครัวเรือนของท่านถูกรบกวนจากภาวะต่าง
ๆ หรือไม่
ถูกรบกวนจากขยะ (ตารางที่ 40)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 23.6 เห็นว่าถูกรบกวนจากขยะ
ในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากน้ำเน่าเสีย (ตารางที่ 44)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 18.1 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำ
เสียในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากน้ำท่วม (ตารางที่ 42)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 15.3 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำ
ท่วมในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากเสียงดัง (ตารางที่ 43)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 20.8 เห็นว่าถูกรบกวนจากเสียง
ดังในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากการจราจรติดขัด (ตารางที่ 44)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 15.3 เห็นว่าถูกรบกวนจาก
จราจรติดขัดในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากฝุ่นควันและก๊าซพิษ (ตารางที่ 45)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 19.4 มีปัญหาในระดับปาน
กลาง0
ถูกรบกวนจากด้านอื่น ๆ (ตารางที่ 46)

ส่วนใหญ่ ไม่ระบุว่าถูกรบกวนจากสิ่งอื่นๆ
3.2.7 ในรอบปีที่ผ่านมาครัวเรือนของท่านได้รับ
การช่วยเหลือหรือการสนับสนุน ด้านใดบ้างและ
จากหน่วยงานใด (เช่น) ค่าเล่าเรียนบุตร การ
ส่งเสริมอาชีพ การพ่นหมอกควันกำจัดยุง)
(ตารางที่ 47)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 33.3 ได้รับความช่วยเหลือจาก
หน่วยงานต่างๆ
3.3 ส่วนที่ 3 ข้อมูลด้านการเป็นสมาชิกกลุ่มหรือ
การร่วมทำกิจกรรมที่ได้รับการส่งเสริม
3.3.1 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านสุขภาพ
กิจกรรมออกกำลังกายผู้สูงอายุ (ตารางที่ 48)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 69.4 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมสุขภาพ
เยาวชนรักกีฬา (ตารางที่ 49)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 70.8 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมเยาวชนรักกีฬา
เต้นแอโรบิค (ตารางที่ 50)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 70.8 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมเต้นแอโรบิค
งดสูบบุหรี่ (ตารางที่ 51)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 70.8 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมงดสูบบุหรี่
ต่อต้านยาเสพติด (ตารางที่ 52)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 70.8 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมต่อต้านยาเสพติด
ป้องกันอุบัติเหตุ (ตารางที่ 53)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.2 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมป้องกันอุบัติเหตุ
ควบคุมเบาหวาน (ตารางที่ 54)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 70.8 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมควบคุมเบาหวาน
ควบคุมความดันโลหิต (ตารางที่ 55)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 57.0 ระบุไม่มีกิจกรรมควบคุม
ความดันโลหิต
ควบคุมไข้เลือดออก (ตารางที่ 56)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68.1 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมควบคุมไข้เลือดออก
ตรวจมะเร็งปากมดลูก (ตารางที่ 57)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 69.4 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมตรวจมะเร็งปากมดลูก
ตรวจมะเร็งเต้านม (ตารางที่ 58)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 69.4 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมควบคุมมะเร็งเต้านม
3.3.2 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านอาชีพ
ฝึกอาชีพเสริม (ตารางที่ 59)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.2 ไม่ระบุการเข้าร่วมมี
กิจกรรมฝึกอาชีพเสริม
ส่งเสริมการท่องเที่ยว (ตารางที่ 60)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 73.6 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว
ส่งเสริมรายได้เด็ก (ตารางที่ 61)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 73.6 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
เสริมรายเด็ก
กิจกรรมชีวิตพอเพียง (ตารางที่ 62)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.2 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมชีวิตพอเพียง
กลุ่มแม่บ้าน (ตารางที่ 63)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.2 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกลุ่มแม่บ้านOTOP (ตารางที่ 64)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 73.6 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมOTOP
การทำบัญชีครัวเรือน (ตารางที่ 65)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 75.0 ไม่ระบุการทำบัญชี
ครัวเรือน
กองทุนหมู่บ้าน (ตารางที่ 66)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 64.0 ไม่มีกิจกรรมกองทุน
หมู่บ้าน
กลุ่มณาปนกิจ (ตารางที่ 67)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 73.6 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกลุ่มฌาปนกิจ
กลุ่มออมทรัพย์ (ตารางที่ 68)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.2 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์
กองทุนอาชีพ (ตารางที่ 69)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.2 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกองทุนอาชีพ
ร้านค้าชุมชน (ตารางที่ 70)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.2 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมร้านค้าชุมชน

ออมทรัพย์อื่นๆ (ตารางที่ 71)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.1 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมออมทรัพย์อื่นๆในชุมชน
อนุรักษ์ศิลปะ (ตารางที่ 72)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.2 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกลุ่มอนุรักษ์ศิลปะ
การทำบุญตักบาตร (ตารางที่ 73)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 70.8 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมทำบุญตักบาตร
วันปีใหม่สงกรานต์ (ตารางที่ 74)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 70.8 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมปีใหม่สงกรานต์
การส่งเสริมศิลปะ (ตารางที่ 75)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.2 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมส่งเสริมศิลปะ
ศาสนพิธี (ตารางที่ 76)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.2 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมศาสนพิธี
พิธีอื่นๆ (ตารางที่ 77)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 95.8 ไม่ระบุการเข้าร่วมพิธีอื่น

ป้องกันยาเสพติด (ตารางที่ 78)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.2 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมป้องกันยาเสพติด
กลุ่มผู้สูงอายุ (ตารางที่ 79)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.2 ไม่การเข้าร่วมกิจกรรม
กลุ่มผู้สูงอายุ
กิจกรรมเยาวชน (ตารางที่ 80)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 70.8 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมเยาวชน
ป้องกันขโมย (ตารางที่ 81)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 70.8 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมป้องกันขโมย
กิจกรรมห่วงใยวัย70 (ตารางที่ 82)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 70.8 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมห่วงใยวัย7จ
ส่งเสริมสถาบันครอบครัว (ตารางที่ 83)

ส่วนใหญ่ร้อยละ72.2 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมส่งเสริมสถาบันครอบครัว
กิจกรรมสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส(ตารางที่ 84)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.2 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส/ผู้พิการ
กองทุนพัฒนาชุมชน (ตารางที่ 85)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.2 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกองทุนพัฒนาชุมชน
กองทุนผู้สูงอายุ (ตารางที่ 86)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 70.2 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกองทุนผู้สูงอายุ
ระวังคุณภาพน้ำ (ตารางที่ 87)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.2 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมระวังคุณภาพน้ำ
ชุมชนน่าอยู่ (ตารางที่ 88)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 73.6 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมชุมชนน่าอยู่
เก็บขยะในชุมชน (ตารางที่ 89)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.2 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมเก็บขยะในชุมชน
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (ตารางที่ 90)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.2 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมขุดลอกคูคลอง (ตารางที่ 91)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 73.6 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมขุดลอกคูคลอง
ปลูกต้นไม้ (ตารางที่ 92)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 73.6 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมปลูกต้นไม้
ซ่อมแซมสาธารณูปโภค (ตารางที่ 93)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 73.6 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมซ่อมแซมสาธารณูปโภค
ทำความสะอาด (ตารางที่ 94)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 73.6 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมทำความสะอาด
ทิ้งขยะในถัง (ตารางที่ 95)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 73.6 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมทิ้งขยะในถัง
อนุรักษ์อื่นๆ (ตารางที่ 96)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 97.2 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมอนุรักษ์อื่นๆรณรงค์เลือกตั้ง (ตารางที่ 97)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.2 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมรณรงค์การเลือกตั้ง
อบรมความรู้การเมือง (ตารางที่ 98)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 73.6 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมอบรมความรู้การเมือง
รณรงค์อื่นๆ (ตารางที่ 99)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 97.2 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมทางการเมืองอื่นๆ

 

สรุปข้อมูลจากการสำรวจโดยแบบสอบถามระหว่างวันที่ …..................
      1. ข้อมูลทั่วไปสำรวจโดยใช้แบบสอบถามจากครัวเรือนทั้งหมด 72 ครัวเรือนคิดเป็น 60 เปอร์เซนต์
ของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชน ในชุมชนนี้มีสมาชิกประมาณ ครัวเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนนี้มีสมาชิก
ประมาณ 1-5 คนต่อครัวเรือนประชากรประกอบด้วยเพศชาย ร้อยละ 39.9 เพศหญิงร้อยละ 55.4ชุมชนมิตร
ไมตรี ประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง 0-10 ปี ประชากรส่วนใหญ่มีการศึกษาในระดับประถมศึกษา
ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธมีรายได้อยู่ในช่วง 1-5000 บาทประชากรส่วนใหญ่มีรายจ่ายอยู่ในช่วง
1-5000 บาท ประกอบอาชีพหลักคือ รับจ้างคนในชุมชนมิตรไมตรีส่วนใหญ่ไม่มีอาชีพเสริมโรคประจำตัว
ของคนในชุมชนมิตรไมตรี ได้แก่ ความดันโลหิตคนในชุมชนอยู่ด้วยกันประมาณ ร้อยละ 37.5คนในชุมชน
ร้อยละ 22.2 ไม่ทะเลาะกันในครัวเรือนในชุมชนส่วนใหญ่มีคนว่างงาน ประมาณ 1 คนมีอยู่ประมาณ 1
ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็นร้อยละ 1.4 ของครัวเรือนทั้งหมดมีผู้ติดสุรา 1คนคิดเป็นร้อยละ 2.8 ของครัวเรือน
ทั้งหมดมีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คนคิดเป็นร้อยละ 11.1 ของครัวเรือนทั้งหมดร้อยละ 9.7 ของครัวเรือน
ทั้งหมด เล่นการพนันมีผู้เล่นการพนัน 1-2 คน 6 ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 8.4 ของครัวเรือนทั้งหมดร้อยละ
26.4 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลร้อยละ 9.7 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล
ส่วนใหญ่จะซื่อประมาณ 1 คนในครอบครัวส่วนใหญ่ใช้เงินซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลเดือนละ 200 บาท
ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 1ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 1ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 2ค่าเล่าเรียนบุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 16.7ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้ความสำคัญอันดับ 4ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่
แชมพู ผงซักฟอก เครื่องใช้ไฟฟ้า มีความสำคัญอันดับ 15.3ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัวให้
ความสำคัญอันดับ 6ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้ความสำคัญอันดับ 7มีการออมเงินร้อยละ 27.8
ของครัวเรือนทั้งหมดร้อยละ4.7 ของครัวเรือนมีเงินออม 50000 บาทต่อครัวเรือนร้อยละ 27.8 ของครัวเรือน
มีหนี้สินร้อยละ 16.8 ของครัวเรือนมีหนี้สินประมาณ 1-5000 บาทต่อครัวเรือนร้อยละ 40.3 ไม่มีครอบครัว
ใดที่ทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายส่วนใหญ่อาศัยอยู่ประมาณ 21-30 ปีส่วนใหญ่เป็นเจ้าของร้อยละ 30.6ชุมชน

      2. ด้านที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมของครัวเรือน ส่วนใหญ่มีพื้นที่อาศัยอยู่ประมาณ 0-25 ตรว.
ส่วนใหญ่อาศัยแบบบ้านเดี่ยวสองชั้นร้อยละ 27.8ส่วนใหญ่ร้อยละ 38.9 เห็นว่ามีความปลอดภัยในระดับ
ปานกลางส่วนใหญ่ร้อยละ 23.6 เห็นว่าถูกรบกวนจากขยะในระดับปานกลางส่วนใหญ่ร้อยละ 18.1 เห็นว่า
ถูกรบกวนจากน้ำเสียในระดับปานกลางส่วนใหญ่ร้อยละ 15.3 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำท่วมในระดับปาน
กลางส่วนใหญ่ร้อยละ 20.8 เห็นว่าถูกรบกวนจากเสียงดังในระดับปานกลางส่วนใหญ่ร้อยละ 15.3 เห็นว่า
ถูกรบกวนจากจราจรติดขัดในระดับปานกลางร้อยละ 19.4 มีปัญหาในระดับปานกลาง ส่วนใหญ่ ไม่ระบุว่า
ถูกรบกวนจากสิ่งอื่นๆร้อยละ 33.3 ได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆ ร้อยละ 69.4

      3. ด้านการเข้าร่วมกิจกรรม ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมสุขภาพร้อยละ 70.8 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมเยาวชนรักกีฬาร้อยละ 70.8 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมเต้นแอโรบิคร้อยละ 70.8 ไม่ระบุการเข้า
ร่วมกิจกรรมงดสูบบุหรี่ร้อยละ 70.8 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมต่อต้านยาเสพติดร้อยละ 72.2 ไม่ระบุการ
เข้าร่วมกิจกรรมป้องกันอุบัติเหตุร้อยละ 70.8 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมควบคุมเบาหวานร้อยละ 57.0 ระบุ
ไม่มีกิจกรรมควบคุมความดันโลหิตร้อยละ 68.1 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมควบคุมไข้เลือดออกร้อยละ
69.4 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมตรวจมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 69.4 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมควบคุม
มะเร็งเต้านมร้อยละ 72.2 ไม่ระบุการเข้าร่วมมีกิจกรรมฝึกอาชีพเสริมร้อยละ 73.6 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวร้อยละ 73.6 ไม่ระบุการมีกิจกรรมเสริมรายเด็กร้อยละ 72.2 ไม่ระบุการเข้า
ร่วมกิจกรรมชีวิตพอเพียงร้อยละ 72.2 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มแม่บ้านร้อยละ 73.6 ไม่ระบุการเข้า
ร่วมกิจกรรมOTOPร้อยละ 75.0 ไม่ระบุการทำบัญชีครัวเรือนร้อยละ 64.0 ไม่มีกิจกรรมกองทุนหมู่บ้านร้อย
ละ 73.6 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มฌาปนกิจร้อยละ 72.2 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์
ร้อยละ 72.2 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกองทุนอาชีพร้อยละ 72.2 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมร้านค้าชุมชน
ร้อยละ 93.1 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมออมทรัพย์อื่นๆในชุมชนร้อยละ 72.2 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
กลุ่มอนุรักษ์ศิลปะร้อยละ 70.8 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมทำบุญตักบาตรส่วนใหญ่ร้อยละ 70.8 ไม่ระบุ
การเข้าร่วมกิจกรรมปีใหม่สงกรานต์ร้อยละ 72.2 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมศิลปะร้อยละ 72.2 ไม่
ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมศาสนพิธีร้อยละ 95.8 ไม่ระบุการเข้าร่วมพิธีอื่นร้อยละ 72.2 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมป้องกันยาเสพติดร้อยละ 72.2 ไม่การเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มผู้สูงอายุร้อยละ 70.8 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมเยาวชนร้อยละ 70.8 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมป้องกันขโมยร้อยละ 70.8 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมห่วงใยวัย70ร้อยละ72.2 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมสถาบันครอบครัวร้อยละ 72.2 ไม่ระบุ
การเข้าร่วมกิจกรรมสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส/ผู้พิการร้อยละ 72.2 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกองทุนพัฒนา
ชุมชนร้อยละ 70.2 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกองทุนผู้สูงอายุร้อยละ 72.2 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมระวัง
คุณภาพน้ำร้อยละ 73.6 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมชุมชนน่าอยู่ร้อยละ 72.2 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมเก็บ
ขยะในชุมชนร้อยละ 72.2 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมส่วนใหญ่ร้อยละ 73.6 ไม่ระบุการ
เข้าร่วมกิจกรรมขุดลอกคูคลองร้อยละ 73.6 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้ร้อยละ 73.6 ไม่ระบุการ
เข้าร่วมกิจกรรมซ่อมแซสาธารณูปโภคร้อยละ 73.6 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมทำความสะอาดร้อยละ 73.6
ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมทิ้งขยะในถังร้อยละ 97.2 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมอนุรักษ์อื่นๆร้อยละ 72.2
ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์การเลือกตั้งร้อยละ 73.6 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมอบรมความรู้
การเมืองส่วนใหญ่ร้อยละ 97.2 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมืองอื่นๆ