ชุมชนนุรุ้ลฮูดา
ชุมชนนุรุ้ลฮูดา แขวงบางมด เขต ทุ่งครุ จังหวัด กรุงเทพมหานคร.
1. ข้อมูลพื้นฐานของชุมชน
1.1 ประวัติและความเป็นมาของชุมชน
    ที่มาของชุมชน ชุมชนแห่งนี้มีความเป็นมาคือ เป็นที่อาศัยของคนมุสลิมที่มีการย้ายถิ่นฐานจาก
แหล่งต่างๆ มาตั้งบ้านเรือนในพื้นที่แห่งนี้เพื่อประกอบอาชีพเกษตรกรรม คือ ทำนา จากคำบอกเล่าของผู้
อาวุโสในชุมชนแห่งนี้นั้น พบว่า ในอดีตสภาพแวดล้อมทางกายภาพของชุมชนแห่งนี้ไม่มีความแออัดดังเช่น
ในปัจจุบัน มีการตั้งบ้านเรือนอยู่เพียง 6-7 หลังคาเรือน การเดินทางในนั้นใช้การเดินเท้า โดยใช้เรือเป็น
หลัก มองไปบริเวณรอบๆ จะเห็นเป็นท้องทุ่งนากว้างขวาง (ประมาณ 30 ปีมาแล้ว) ทุกคนในชุมชนรู้จักกัน
เป็นอย่างดี ซึ่งกลุ่มคนพวกแรกๆ ของชุมชนคือ ชาวมุสลิม ที่ย้ายมาจากที่ต่างๆ ได้แก่ มีนบุรี สมุทรปราการ
ซึ่งส่วนใหญ่เป็นพี่น้องมุสลิมด้วยกันเองที่มีการบอกกล่าวกันว่ามีพื้นที่ที่สามารถมาตั้งถิ่นฐานอยู่ได้
ประกอบกับในช่วง พศ. 2530 เป็นต้นมาที่การปลูกส้มบางมดที่เป็นที่นิยม เนื่องจากเป็นอาชีพที่ทำรายได้
ให้แก่เกษตรกรเป็นมูลค่าหลายแสนบาทต่อปี ทุกครัวเรือนมีการปลูกส้มเพื่อจำหน่ายให้แก่แม่ค้าที่มารับซื้อ
ส้มจากแหล่งต่างๆ ในเขตพื้นที่นี้ จึงเป็นเหตุให้มีการอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในชุมชนแห่งนี้มากขึ้น แต่เมื่อ
การปลูกส้มไม่สามารถสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรได้เช่นเคย จึงเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญที่ทำให้คนในชุมชน
อพยพออกจากชุมชนไปตั้งถิ่นฐานแห่งใหม่(10 ปีที่ผ่านมา) แต่ก็มีคนภายนอกย้ายเข้ามาตั้งถิ่นฐานอีก
เช่นเดียวกัน ส่วนใหญ่เป็นอิสลามเป็นหลักที่มีเครือญาติอยู่ในชุมชนแห่งนี้อยู่แล้ว

    ความสัมพันธ์ของคนในชุมชน จากการที่มีการนับถืออิสลามเหมือนกัน ดังนั้น คนในชุมชนจึงรัก
ใคร่กลมเกลียวกันเป็นอย่างดี ให้ความร่วมมือเมื่อมีกิจกรรมสำคัญและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับศาสนา
มีการตั้งชุมชนอย่างเป็นทางการในปี 2540 ประมาณ 10 ปีผ่านมาแล้ว
การประกอบอาชีพของคนส่วนใหญ่ของชุมชนในปัจจุบัน คือ อาชีพ ค้าขาย รับจ้าง และข้าราชการ
เป็นส่วนน้อย (หลักๆ คือ การรับจ้างทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมที่อยู่รอบนอกชุมชน)

1.2 โครงสร้างพื้นฐานชุมชน เริ่มเข้าไปพัฒนาเมื่อปี พ.ศ.2539
    ภายหลังจากการตั้งชุมชนก็มีระบบขอโครงสร้างพื้นฐานของชุมชนเข้ามา คือ ไฟฟ้า(ประมาณ 20
ปี) น้ำประปา (ประมาณ 8 ปี) และสะพานเดินเท้ารอบชุมชน ลานกีฬาชุมชนซึ่งเป็นที่ออกกำลังการของคน
ในชุมชน และศูนย์สุขภาพชุมชนอีก 2 แห่งชุมชนชมทรัพย์ประกอบด้วยคณะกรรมการชุมชนทั้งสิ้น 8 คน
อสส. 2 คน

1.3 วัฒนธรรมประเพณีของคนในชุมชน ประชากรส่วนใหญ่ในชุมชนเป็นประเพณีที่เกี่ยวข้องกับวันสำคัญ
ของศาสนาอิสลาม เช่น งานวันเมาลิด ความสำคัญของวันนี้คือ เป็นวันที่พี่น้องมุสลิมจะทำการสรรเสริญ
ให้กับวันคล้ายวันเกิดของท่านนบีมูฮัมหมัด งานอิซิกุโบร์ เป็นงานทำบุญให้กับผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว จัดทุกวัน
พฤหัสบดี ต้นเดือนของทุกเดือน การถือศีลอดในเดือนร็อมฏอล ของทุกปี ส่วนกิจกรรมที่ทำร่วมกันของคน
ในชุมชน คือ กิจกรรมวันเด็ก คนในชุมชนให้ความสำคัญเป็นอย่างมาก จึงมีกิจกรรมการเล่นเกมส์เพื่อให้
เด็กๆ ในชุมชนได้เข้าร่วมทุกคน

1.4 ปัญหาสำคัญภายในชุมชน
    จากการสัมภาษณ์ผู้อาวุโสของชุมชน สภาพปัญหาที่สำคัญของชุมชน คือ ปัญหาความแออัด ปัญหา
ขยะและน้ำเสีย ปัญหามลภาวะภายในชุมชน ดังนี้ เนื่องจากการอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานอย่างหนาแน่น ทำให้
ชุมชนแห่งนี้ต้องเผชิญกับปัญหาดังกล่าวที่ปัจจุบันยังไม่สามารถแก้ไขได้เนื่องจาก เป็นปัญหาเรื้อรังที่เกิด
จากคนในชุมชนเองที่ไม่ให้ความร่วมมือในการรักษาความสะอาดบริเวณชุมชน โดยเฉพาะในลำคลอง ที่ยัง
มีการทิ้งขยะและน้ำเสียลงสู่ลำคลอง

1.5 การทำงานรวมกับหน่วยงานภายนอกชุมชนทั้งภาครัฐและเอกชน
    1) การทำงานร่วมกับสำนักงานเขตทุ่งครุ ในการดำเนินงานต่างๆของชุมชน
    2) การทำงานร่วมกับสาธารณสุข ในเรื่องสุขภาพอนามัยของคนในชุมชน
ลักษณะเด่นของชุมชน คือ ส่วนใหญ่เป็นคนที่นับถือศาสนาอิสลาม ดังนั้น จึงมีการรวมตัวกันอย่างเหนียว
แน่น สถานที่สำคัญคือ มัสยิดของชุมชน

1.6 แผนที่ชุมชน

1.7 รูปภาพชุมชน

2. ข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์คณะกรรมการชุมชน
ชื่อชุมชน ชุมชนนูรุ้ลฮูดา
ชื่อผู้ให้สัมภาษณ์ นายระพีพันธ์ ทองอยู่ ตำแหน่ง/หน้าที่ ประธานชุมชน
    1. ที่ตั้งของชุมชน …..
    2. อาณาเขตติดต่อ
      - ทิศเหนือติดกับ ชุมชนบางมด หมู่ 5
      - ทิศตะวันออกติดกับ ถนนซอยพุทธบูชา 36
      - ทิศใต้ติดกับ ชุมชนดารุ้ลอิบาดะห์
      - ทิศตะวันตกติดกับ คลองบางมด

3. คณะกรรมการชุมชนมีบทบาทในการพัฒนาหรือการปกครองชุมชนอย่างไรบ้าง
    3.1 ติดต่อประสานงานในชุมชนเป็นตัวกลางของการพัฒนาชุมชน

4. ภายในชุมชนมีสถานที่สำคัญอะไรบ้างและมีความเป็นมาอย่างไร
    4.1 มัสยิดนูรุ้ลฮูดา
    4.2 โรงเรียนสอนศาสนา
    4.3 ศูนย์กีฬา

5. ชุมชนมีกฏระเบียบหรือข้อบังคับในการอยู่ร่วมกันภายในชุมชนอย่างไรบ้าง

6. ชุมชนมีนโยบายหรือแผนในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง
    การประชุมประชาพิจารณ์
    6.1 กำลังจัดทำแผนของการโครงเรื่องการศึกษา (ศูนย์เด็กเล็ก)
    6.2 ขออุปกรณ์ (ของหลังคา) ซ่อมบาแล

7. ในชุมชนมีปัญหาอะไรบ้าง
    - ปัญหาด้านสังคม
      มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
      น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาทะเลาะกัน, ปัญหาความขัดแย้งในชุมชน

    - ปัญหาด้านเศรษฐกิจ
      มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการขาดโอกาสในการประกอบอาชีพใหม่ ๆ , ปัญหารายได้
      น้อย, ปัญหาการขาดแหล่งทุนสำหรับกู้ยืมประกอบอาชีพ
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
      น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาว่างงาน, ปัญหาหนี้นอกระบบ, ปัญหาหนี้ในระบบ

    - ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
      มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาผิวจราจรแตกชำรุดหรือเป็นหลุมเป็นบ่อ, ปัญหาจราจรที่มัก
เกิดอุบัติเหตุ
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
      น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการขยายเครือข่ายของไฟฟ้าที่ไม่ทั่วถึง, ปัญหาการสื่อสาร
และโทรคมนาคม

    - ปัญหาด้านสารธารณสุข
      มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคที่มีสัตว์นำโรค
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ, ปัญหาโรคไม่ติดต่อ เช่น มะเร็ง,
      ปัญหาการติดบุหรี่
      น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการติดสุรา

    - ปัญหาด้านการศึกษา
      ชุมชนนูรุ้ลฮูดา ไม่มีปัญหาทางด้านการศึกษา

    - ปัญหาด้านศาสนา
      มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาศาสนสถานไม่ได้รับการบูรณะ
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
      น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง -

    - ปัญหาด้านประเพณีและวัฒนธรรม
      ชุมชนนูรุ้ลฮูดา ไม่มีปัญหาทางด้านประเพณีและวัฒนธรรม

    - ปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
      มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาน้ำเน่าเสีย, ปัญหาขยะมูลฝอย
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
      น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง -

    - ปัญหาด้านการเมืองการบริหาร
      ชุมชนนูรุ้ลฮูดา ไม่มีปัญหาด้านการเมืองการบริหาร

8. จงเรียงลำดับความสำคัญของปัญหาที่ชุมชนต้องแก้ไขเร่งด่วนมากที่สุด เพราะอะไร
    8.1 เบี้ยเลี้ยงยังชีพ
    8.2 เงินทุน เพราะต้องการนำมาพัฒนา
    8.3 อาชีพ

9. ในชุมชนมีกลุ่มกิจกรรมอะไรบ้างที่ทางราชการและเอกชนเข้ามาส่งเสริม
    - ด้านสุขภาพ
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง กิจกรรมต่อต้านการแพร่ระบาดของยาเสพติด, กิจกรรมป้องกัน
ไข้เลือดออก, กิจกรรมตรวจมะเร็งปากมดลูก, ตรวจมะเร็งเต้านม

    - ด้านอาชีพ
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง การฝึกอบรมอาชีพเสริม, การส่งเสริมการท่องเที่ยว, กิจกรรมชีวิต
พอเพียงตามแนวพระราชดำริ

    - ด้านการออมทรัพย์
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง กลุ่มฌาปณกิจ

    - ด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับศาสนพิธีและวันสำคัญทางศาสนา

    - ด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง การป้องกันยาเสพติด, มีการรวมกลุ่มกิจกรรมของผู้สูงอายุ, กิจกรรม
เพื่อเยาวชน, การป้องกันการลักขโมย, กิจกรรมห่วงใยวัย 70 ปี, ส่งเสริมสถาบันครอบครัว, การสงเคราะห์
ผู้ด้อยโอกาส, การเลี้ยงดูผู้พิการ, กองทุนพัฒนาชุมชน, กองทุนผู้สูงอายุ

    - ด้านการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อม
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง การประกวดชุมชนน่าอยู่, การเก็บขยะในชุมชน, การอบรมการ
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม, การขุดลอกคูคลอง, ปลูกต้นไม้ให้สวยงาม, ปรับปรุงหรือซ่อมแซม, รณรงค์ให้ทิ้งขยะ
ในถังขยะ

    - ด้านการเมืองการปกครอง
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง รณรงค์ให้ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งทุก ๆ ครั้งที่มีการเลือกตั้ง, อบรมให้
ความรู้เกี่ยวกับการเมือง

10. ชุมชนมีโครงการในการพัฒนาชุมชนอะไรบ้างและแต่ละโครงการมีกิจกรรมอย่างไร
    10.1 ศูนย์เด็กเล็ก สถานที่ ภายในชุมชน ระยะเวลา กำลังดำเนินการ
    10.2 ปรับปรุงทางเข้าชุมชน สถานที่ ภายในชุมชน ระยะเวลา กำลังดำเนินการ

11. คนดีและเก่งที่เป็นกำลังสำคัญในชุมชน
    - ด้านการทำอาหาร
      ขนมไทย สุรี บินฮาซัน
      การทำอาหารคาวหวาน มะเรียม บินฮาซัน

    - ด้านการช่าง
      ช่างไม้ สุพจน์ บินฮาซัน
      ช่างตัดเย็บผ้า ไพจิตต์ ดอกแก้ว

    - ด้านการเกษตร
      จับสัตว์น้ำ ทวี เพิ่มเจริญนุกูล
      ขายพันธุ์พืช อาลี บินฮาซัน

    - ด้านศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม (ทุกศาสนาที่มีอยู่ในชุมชน)

    - ด้านการแพทย์แผนไทย
      การใช้สมุนไพรรักษาโรค สายันห์ แสงสว่าง

    - ด้านการประดิษฐ์
    - ด้านอื่น ๆ

12. ในชุมชนมีจุดอ่อนจุดแข็งอะไรบ้าง
    จุดแข็ง - ความร่วมมือ
              - เงินสนับสนุนจาก สก., สส., สช.
    จุดอ่อน -

13. รายชื่อคณะกรรมการหมู่บ้าน
    1. นายระพีพันธ์ ทองอยู่ ตำแหน่ง ประธาน
    2. นายสุพจน์ บินฮาซัน ตำแหน่ง รองประธาน
    3. นายสุรี บินฮาซัน ตำแหน่ง เลขา

14. รายชื่อพัฒนาชุมชน (อช.)

15. รายชื่ออาสาสาธารณประจำชุมชน (อส.ม)
    1. คุณญาณนภา ธนชูเชาว์ เบอร์โทร
    2. คุณจรินทร์ อังคสิงค์ เบอร์โทร
    3. คุณเชาวนันท์ บุนนาค เบอร์โทร

16. ในชุมชนมีสิ่งที่ทำให้สมาชิกในชุมชนมีความภาคภูมิใจอะไรบ้างเพราะอะไร

17. ชุมชนมีความต้องการหรือความคาดหวังในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง
    ส่งเสริมให้ชุมชนมีในสิ่งที่ไม่มีให้มีเช่น สะพาน

3. ข้อมูลแบบสอบถามของชุมชน
3.1. ส่วนที่ 1 ข้อมูลด้านประชากรของสมาชิกในครัวเรือน
3.1.1 ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนของชุมชน ประกอบด้วย ข้อมูลรวมของสมาชิกในครัวเรือน
ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเพศชาย และ
ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเพศหญิง
ตารางที่ 1 แสดงร้อยละของครัวเรื่องที่มีสมาชิก 1-7 คน

ครัวเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนนี้มีสมาชิกประมาณ 3-5 คนต่อครัวเรือน
3.1.2 ข้อมูลส่วนบุคคลของสมาชิกในครัวเรือนทั้งหมด
ตารางที่ 2 ร้อยละของเพศชายและเพศหญิง

ประชากรประกอบด้วยเพศชาย ร้อยละ 39.9 เพศหญิงร้อยละ 42.6
ตาราง 3 ร้อยละของอายุประชากรในชุมชน

ชุมชนนูรุ้ลฮูดา ประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง 11-20 ปี
ตาราง 4 ระดับการศึกษา

ชุมชนนูรุ้ลฮูดา ประชากรส่วนใหญ่มีการศึกษาในระดับประถมศึกษา
ตาราง 5 การนับถือศาสนา

ชุมชนนูรุ้ลฮูดา ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม
ตาราง 6 รายได้ของคนในชุมชน

ชุมชนดารุ้ลฮูดา ประชากรส่วนใหญ่มีรายได้อยู่
ในช่วง 1-5000 และ 5001-10000 บาท
ตาราง 7 รายจ่ายของคนในชุมชน

ชุมชนดารุ้ลฮูดา ประชากรส่วนใหญ่มีรายจ่ายอยู่
ในช่วง 1-5000 บาท
ตาราง 8 อาชีพหลัก ของคนในชุมชน

ชุมชนดารุ้ลฮูดา ประชากรส่วนใหญ่ประกอบ
อาชีพหลักคือ รับจ้าง
ตาราง 9 อาชีพเสริม ของคนในชุมชน

คนในชุมชนร่วมใจส่วนใหญ่ไม่มีอาชีพเสริม
ตาราง 10 โรคประจำตัวของคนในชุมชน

โรคประจำตัว ของคนในชุมชนดารุ้ลฮูดา ได้แก่
หอบหืดและความดันโลหิต
ตารางที่ 11 สถานะภาพครอบครัวในชุมชน

คนในชุมชนอยู่ด้วยกันประมาณ ร้อยละ 70.0
3.1.4 ข้อมูลความขัดแย้งหรือการทะเลาะกันใน
ครัวเรือน (ตารางที่ 12)

คนในชุมชนร้อยละ 68.0 ไม่ทะเลาะกัน
3.1.5 จำนวนข้อมูลผู้ว่างงานในครัวเรือน
(ตารางที่ 13)

ในครัวเรือนในชุมชนส่วนใหญ่มีคนว่างงาน
ประมาณ 1-2 คน
3.1.6 ข้อมูลจำนวนผู้พิการในครัวเรือน
(ตารางที่ 14)

มีอยู่ประมาณ 4 ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็นร้อย
ละ 8.0 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.7 ข้อมูลจำนวนผู้ติดสุราในครัวเรือน
(ตารางที่ 15)

ไม่มีผู้ติดสุรา คิดเป็นร้อยละ 80.0 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.8 ข้อมูลจำนวนผู้ติดบุหรี่ในครัวเรือน (ตารางที่ 16)

มีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คนคิดเป็นร้อยละ 2.0 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.9 ข้อมูลการเล่นการพนันในครัวเรือนประกอบด้วย การเล่นการพนันของสมาชิกใน
ครัวเรือน และข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่เล่นการพนัน
ข้อมูลการเล่นพนันของสมาชิกในครัวเรือน (ตารางที่ 17)

ร้อยละ 80.0 ของครัวเรือนทั้งหมดไม่ เล่นการพนัน
ข้อมูลจำนวนสมาชิกที่เล่นการพนันในครัวเรือน (ตารางที่ 18)

ไม่มีผู้เล่นการพนัน คิดเป็นร้อยละ 80.0 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.10 ข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกในครัวเรือน ประกอบด้วย ข้อมูลการซื้อ
สลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกในครัวเรือนข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล และข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล
ข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกในครัวเรือน (ตารางที่ 19)

ร้อยละ 8.0 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล
ข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล (ตารางที่ 20)

ร้อยละ 6.0 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล ส่วนใหญ่จะซื่อประมาณ 1 คนใน
ครอบครัวข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล (ตารางที่ 21)

ส่วนใหญ่ใช้เงินซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลเดือนละ 200 บาท
3.1.11 ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายของครัวเรือน ประกอบด้วย ค่าอาหาร ค่าเช่าบ้านหรือ
ผ่านบ้าน ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ค่าการศึกษาบุตร ค่าเดินทาง ค่าเครื่องใช้ในครัวเรือน ค่า
เครื่องใช้ส่วนตัว และค่ารักษาพยาบาลข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าอาหารของครัวเรือน (ตารางที่ 22)

ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 8
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านของครัวเรือ (ตารางที่ 23)

ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มี ความสำคัญอันดับ 1
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
น้ำ ค่าไฟ และค่าโทรศัพท์ของครัวเรือน (ตารางที่ 24)

ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 7
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
การศึกษาของบุตร (ตารางที่ 25)

ค่าเล่าเรียนบุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ
อันดับ 6ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เดินทาง (ตารางที่ 26)

ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้ความสำคัญอันดับ 4
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าของใช้ในครัวเรือน (เช่น สบู่ แชมพู ผงซักฟอก
เครื่องใช้ไฟฟ้า ฯลฯ) (ตารางที่ 27)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่ แชมพู ผงซักฟอก
เครื่องใช้ไฟฟ้า มีความสำคัญอันดับ 5
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เครื่องใช้ส่วนตัว (เช่น เสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้า
ฯลฯ)
(ตารางที่ 28)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัวให้
ความสำคัญอันดับ 6
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
รักษาพยาบาล (ตารางที่ 29)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้ความสำคัญ
อันดับ 7
3.1.12 ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน
ประกอบด้วย ข้อมูลการออมเงิน และข้อมูล
จำนวนเงินออม
ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน (ตารางที่ 30)

มีการออมเงินร้อยละ 2.0 ของครัวเรือนทั้งหมด
ข้อมูลจำนวนเงินออมในครัวเรือน (ตารางที่ 34)

ร้อยละ78.0 ของครัวเรือนไม่มีเงินออม
3.1.13 ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน
ประกอบด้วย ข้อมูลการมีหนี้สิน และข้อมูล
จำนวนหนี้สิน
ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน (ตารางที่ 32)

ร้อยละ 4.0 ของครัวเรือนมีหนี้สิน
ข้อมูลจำนวนหนี้สินในครัวเรือน (ตารางที่ 36)

ร้อยละ 10.0 ของครัวเรือนมีหนี้สินประมาณ
5000 บาท
3.2.14 ข้อมูลการทำรายรับ – รายจ่าย
(ตารางที่ 34)

ร้อยละ 80 ไม่มีครอบครัวใดที่ทำบัญชีรายรับ-
รายจ่าย
3.2. ส่วนที่ 2 ข้อมูลด้านที่อยู่อาศัย
3.2.1 ภูมิลำเนาเดิม
3.2.2 ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในชุมชน (ตารางที่ 35)

อาศัยอยู่ในชุมชนส่วนใหญ่อาศัยอยู่ประมาณ 41-
50 ปี
3.2.3 การครอบครองที่อยู่อาศัย ประกอบด้วย
ข้อมูลการครอบครองที่อยู่อาศัย และข้อมูลด้าน
จำนวนพื้นที่อยู่อาศัย
การครอบครองที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 36)

ส่วนใหญ่เป็นเจ้าของร้อยละ 76.0
จำนวนพื้นที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 37)

ชุมชนส่วนใหญ่มีพื้นที่อาศัยอยู่ประมาณ 0-25 ตรว.
3.2.4 ลักษณะของที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 41)

ส่วนใหญ่อาศัยแบบบ้านเดี่ยวสองชั้นร้อยละ 46.0
3.2.5 บริเวณที่อยู่อาศัยของท่านมีความปลอดภัย
ในชีวิตและทรัพย์สินหรือไม่ (ตารางที่ 39)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 78.0 เห็นว่ามีความปลอดภัยใน
ระดับน้อย
3.2.6 ครัวเรือนของท่านถูกรบกวนจากภาวะต่าง
ๆ หรือไม่
ถูกรบกวนจากขยะ (ตารางที่ 40)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 40.0 เห็นว่าถูกรบกวนจากขยะ
ในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากน้ำเน่าเสีย (ตารางที่ 44)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 76.0 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำ
เสียในระดับมาก
ถูกรบกวนจากน้ำท่วม (ตารางที่ 42)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 42.0 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำ
ท่วมในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากเสียงดัง (ตารางที่ 43)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 36.0 เห็นว่าถูกรบกวนจากเสียง
ดังในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากการจราจรติดขัด (ตารางที่ 44)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 32.0 เห็นว่าถูกรบกวนจาก
จราจรติดขัดในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากฝุ่นควันและก๊าซพิษ (ตารางที่ 45)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 54.0 มีปัญหาในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากด้านอื่น ๆ (ตารางที่ 46)

ส่วนใหญ่ ไม่ระบุว่าถูกรบกวนจากสิ่งอื่นๆ
3.2.7 ในรอบปีที่ผ่านมาครัวเรือนของท่านได้รับ
การช่วยเหลือหรือการสนับสนุน ด้านใดบ้างและ
จากหน่วยงานใด (เช่น) ค่าเล่าเรียนบุตร การ
ส่งเสริมอาชีพ การพ่นหมอกควันกำจัดยุง
(ตารางที่ 47)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 66.0 ได้รับความช่วยเหลือจาก
หน่วยงานต่างๆ
3.3 ส่วนที่ 3 ข้อมูลด้านการเป็นสมาชิกกลุ่มหรือ
การร่วมทำกิจกรรมที่ได้รับการส่งเสริม
3.3.1 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านสุขภาพ
กิจกรรมออกกำลังกายผู้สูงอายุ (ตารางที่ 48)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60.0 ไม่มีกิจกรรมสุขภาพ
เยาวชนรักกีฬา (ตารางที่ 49)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 40.0 ระบุว่าเข้าร่วมกิจกรรม
เยาวชนรักกีฬา
เต้นแอโรบิค (ตารางที่ 50)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 62.0 ไม่มีกิจกรรมเต้นแอโรบิค
งดสูบบุหรี่ (ตารางที่ 51)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 64.0 ระบุว่าเข้าร่วมกิจกรรมงด
สูบบุหรี่
ต่อต้านยาเสพติด (ตารางที่ 52)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.0 ระบุการ ระบุว่าเข้าร่วม
กิจกรรมต่อต้านยาเสพติด
ป้องกันอุบัติเหตุ (ตารางที่ 53)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 64.0 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
ป้องกันอุบัติเหตุ
ควบคุมเบาหวาน (ตารางที่ 54)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.0 ระบุว่า ไม่มีกิจกรรม
ควบคุมเบาหวาน
ควบคุมความดันโลหิต (ตารางที่ 55)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 54.0 ระบุไม่มีกิจกรรมควบคุม
ความดันโลหิต
ควบคุมไข้เลือดออก (ตารางที่ 56)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.0 ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
ควบคุมไข้เลือดออก
ตรวจมะเร็งปากมดลูก (ตารางที่ 57)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 46.0 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมตรวจ
มะเร็งปากมดลูก
ตรวจมะเร็งเต้านม (ตารางที่ 58)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 48.0 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
ควบคุมมะเร็งเต้านม
3.3.2 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านอาชีพ
ฝึกอาชีพเสริม (ตารางที่ 59)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.0 ระบุไม่มีกิจกรรมฝึกอาชีพเสริม
ส่งเสริมการท่องเที่ยว (ตารางที่ 60)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.0 ระบุไม่มีกิจกรรมส่งเสริม
การท่องเที่ยว
ส่งเสริมรายได้เด็ก (ตารางที่ 61)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.0 ไม่มีกิจกรรมเสริมรายเด็ก
กิจกรรมชีวิตพอเพียง (ตารางที่ 62)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.0 ระบุว่าเข้าร่วมกิจกรรม
ชีวิตพอเพียง
กลุ่มแม่บ้าน (ตารางที่ 63)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 66.0 ไม่มีกิจกรรมกลุ่มแม่บ้าน
OTOP (ตารางที่ 64)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.0 ไม่มีกิจกรรมOTOP
3.3.3 ข้อมูลด้านการออมทรัพย์
การทำบัญชีครัวเรือน (ตารางที่ 65)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68.0 ระบุว่าไม่มีการทำบัญชี
ครัวเรือน
กองทุนหมู่บ้าน (ตารางที่ 66)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68.0 ไม่มีกิจกรรมกองทุน
หมู่บ้าน
กลุ่มณาปนกิจ (ตารางที่ 67)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60.0 ไม่มีกิจกรรมกลุ่มฌาปนกิจ
กลุ่มออมทรัพย์ (ตารางที่ 68)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68.0 ไม่มีกิจกรรมกลุ่มออม
ทรัพย์
กองทุนอาชีพ (ตารางที่ 69)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68.0 ไม่มีกิจกรรมกองทุน
อาชีพ
ร้านค้าชุมชน (ตารางที่ 70)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68.0 ไม่มีกิจกรรมร้านค้าชุมชน
ออมทรัพย์อื่นๆ (ตารางที่ 71)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 86.0 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมออมทรัพย์อื่นๆในชุมชน
3.3.4 ข้อมูลด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
อนุรักษ์ศิลปะ (ตารางที่ 72)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 44.0 ไม่มีกิจกรรมกลุ่มอนุรักษ์ศิลปะ
การทำบุญตักบาตร (ตารางที่ 73)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.0 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมทำบุญ
ตักบาตร
วันปีใหม่สงกรานต์ (ตารางที่ 74)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.0 ระบุการว่าไม่มีกิจกรรมปี
ใหม่สงกรานต์
การส่งเสริมศิลปะ (ตารางที่ 75)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 38.0 ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
ส่งเสริมศิลปะ
ศาสนพิธี (ตารางที่ 76)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 62.0 เข้าร่วมกิจกรรมศาสนพิธี
พิธีอื่นๆ (ตารางที่ 77)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.0 ไม่ระบุการเข้าร่วมพิธีอื่น
3.3.5 ข้อมูลด้านการแก้ไขปัญหาสังคม
ป้องกันยาเสพติด (ตารางที่ 78)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.เข้าร่วมกิจกรรมป้องกัน
ยาเสพติด
กลุ่มผู้สูงอายุ (ตารางที่ 79)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.0 เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
ผู้สูงอายุ
กิจกรรมเยาวชน (ตารางที่ 80)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60.0 เข้าร่วมกิจกรรมเยาวชน
ป้องกันขโมย (ตารางที่ 81)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 54.0 ไม่มีกิจกรรมป้องกัน
ขโมย
กิจกรรมห่วงใยวัย70 (ตารางที่ 82)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 64.0 ไม่มีกิจกรรมห่วงใยวัย70
ส่งเสริมสถาบันครอบครัว (ตารางที่ 83)

ส่วนใหญ่ร้อยละ42.0 เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริม
สถาบันครอบครัว
กิจกรรมสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส(ตารางที่ 84)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 44.0 เข้าร่วมกิจกรรม
สงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส/ผู้พิการ
กองทุนพัฒนาชุมชน (ตารางที่ 85)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 48.0 ไม่มีกิจกรรมกองทุน
พัฒนาชุมชน
กองทุนผู้สูงอายุ (ตารางที่ 86)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 42.0 ไม่มีกิจกรรมกองทุน
ผู้สูงอายุ
3.3.6 ข้อมูลด้านการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อม
ระวังคุณภาพน้ำ (ตารางที่ 87)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.0 เข้าร่วมกิจกรรมระวัง
คุณภาพน้ำ
ชุมชนน่าอยู่ (ตารางที่ 88)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.0 เข้าร่วมกิจกรรมชุมชนน่า
อยู่
เก็บขยะในชุมชน (ตารางที่ 89)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 78.0 เข้าร่วมกิจกรรมเก็บขยะใน
ชุมชน
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (ตารางที่ 90)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.0 เข้าร่วมกิจกรรมอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อม
ขุดลอกคูคลอง (ตารางที่ 91)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 76.0 เข้าร่วมกิจกรรมขุดลอกคู
คลอง
ปลูกต้นไม้ (ตารางที่ 92)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 78.0 เข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้
ซ่อมแซมสาธารณูปโภค (ตารางที่ 93)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 76.0 เข้าร่วมกิจกรรมซ่อมแซม
สาธารณูปโภค
ทำความสะอาด (ตารางที่ 94)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 76.0 เข้าร่วมกิจกรรมทำความ
สะอาด
ทิ้งขยะในถัง (ตารางที่ 95)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 76.0 เข้าร่วมกิจกรรมทิ้งขยะใน
ถัง
อนุรักษ์อื่นๆ (ตารางที่ 96)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 58.0 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมอนุรักษ์อื่นๆ
3.3.7 ข้อมูลด้านการเมืองการปกครอง
รณรงค์เลือกตั้ง (ตารางที่ 97)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 80.0 เข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์
การเลือกตั้ง
อบรมความรู้การเมือง (ตารางที่ 98)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 80.0 เข้าร่วมกิจกรรมอบรม
ความรู้การเมือง
รณรงค์อื่นๆ (ตารางที่ 99)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 96.0 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมทางการเมืองอื่นๆ

สรุปข้อมูลจากการสำรวจโดยแบบสอบถามระหว่างวันที่ …..................
      สำรวจโดยใช้แบบสอบถามจากครัวเรือนทั้งหมด 50 ครัวเรือนคิดเป็น 60 เปอร์เซ็นต์ของครัวเรือน
ทั้งหมดในชุมชน ส่วนใหญ่ในชุมชนนี้มีสมาชิกประมาณ 3-5 คนต่อครัวเรือน ประชากรประกอบด้วยเพศ
ชายร้อยละ 39.9 เพศหญิงร้อยละ 42.6 ชุมชนนูรุ้ลฮูดาประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง 11-20 ปี
ประชากรส่วนใหญ่มีการศึกษาในระดับประถมศึกษา ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ประชากร
ส่วนใหญ่มีรายได้อยู่ในช่วง 1-5000 และ 5001-10000 บาท ประชากรส่วนใหญ่มีรายจ่ายอยู่ในช่วง 1-5000
บาท ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพหลักคือ รับจ้าง คนในชุมชนร่วมใจส่วนใหญ่ไม่มีอาชีพเสริม โรค
ประจำตัวของคนในชุมชนดารุ้ลฮูดา ได้แก่ หอบหืดและความดันโลหิต คนในชุมชนอยู่ด้วยกันประมาณ
ร้อยละ 70.0 คนในชุมชนร้อยละ 68.0 ไม่ทะเลาะกัน ในครัวเรือนในชุมชนส่วนใหญ่มีคนว่างงาน
ประมาณ 1-2 คน มีอยู่ประมาณ 4 ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็นร้อยละ 8.0 ของครัวเรือนทั้งหมด ไม่มีผู้ติด
สุราคิดเป็นร้อยละ 80.0 ของครัวเรือนทั้งหมด มีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คนคิดเป็นร้อยละ 2.0 ของครัวเรือน
ทั้งหมด ร้อยละ 80.0 ของครัวเรือนทั้งหมดไม่เล่นการพนัน ไม่มีผู้เล่นการพนันคิดเป็นร้อยละ 80.0 ของ
ครัวเรือนทั้งหมด ร้อยละ 8.0 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล ร้อยละ 6.0 ของครัวเรือน
ทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล ส่วนใหญ่จะซื้อประมาณ 1 คนในครอบครัวส่วนใหญ่ใช้เงินซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาลเดือนละ 200 บาท ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 8 ค่าเช่าบ้านหรือค่า
ผ่อนบ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 1 ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 7
ค่าเล่าเรียนบุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 6 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้
ความสำคัญอันดับ 4 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่ แชมพู ผงซักฟอก เครื่องใช้ไฟฟ้า มีความสำคัญอันดับ 5
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัวให้ความสำคัญอันดับ 6 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้
ความสำคัญอันดับ 7 มีการออมเงินร้อยละ 2.0 ของครัวเรือนทั้งหมด ร้อยละ78.0 ของครัวเรือนไม่มีเงิน
ออม ร้อยละ 4.0 ของครัวเรือนมีหนี้สิน ร้อยละ 10.0 ของครัวเรือนมีหนี้สินประมาณ 5000 บาท ร้อยละ
80 ไม่มีครอบครัวใดที่ทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย

      ในด้านที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อมของครัวเรือน คนในชุมชนส่วนใหญ่อาศัยอยู่ประมาณ 41-50 ปี
ส่วนใหญ่เป็นเจ้าของร้อยละ 76.0 ชุมชนส่วนใหญ่มีพื้นที่อาศัยอยู่ประมาณ 0-25 ตรว. อาศัยแบบบ้านเดี่ยว
สองชั้นร้อยละ 46.0 ร้อยละ 78.0 เห็นว่ามีความปลอดภัยในระดับน้อย ร้อยละ 40.0 เห็นว่าถูกรบกวนจาก
ขยะในระดับปานกลาง ร้อยละ 76.0 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำเสียในระดับมาก ร้อยละ 42.0 เห็นว่าถูก
รบกวนจากน้ำท่วมในระดับปานกลาง ร้อยละ 36.0 เห็นว่าถูกรบกวนจากเสียงดังในระดับปานกลาง
ร้อยละ 32.0 เห็นว่าถูกรบกวนจากจราจรติดขัดในระดับน้อย ร้อยละ 54.0 มีปัญหาในระดับน้อย ส่วน
ใหญ่ไม่ระบุว่าถูกรบกวนจากสิ่งอื่นๆ ส่วนใหญ่ร้อยละ 66.0 ได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆ

      ด้านการเข้ารวมกิจกรรมส่วนใหญ่ร้อยละ 60.0 ไม่มีกิจกรรมสุขภาพ ส่วนใหญ่ร้อยละ 40.0 ระบุ
ว่าเข้าร่วมกิจกรรมเยาวชนรักกีฬา ส่วนใหญ่ร้อยละ 62.0 ไม่มีกิจกรรมเต้นแอโรบิค ส่วนใหญ่ร้อยละ
64.0 ระบุว่าเข้าร่วมกิจกรรมงดสูบบุหรี่ ร้อยละ 56.0 ระบุว่าเข้าร่วมกิจกรรมต่อต้านยาเสพติด
ร้อยละ 64.0 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมป้องกันอุบัติเหตุ ร้อยละ 72.0 ระบุว่า ไม่มีกิจกรรมควบคุมเบาหวาน
ร้อยละ 54.0 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมควบคุมความดันโลหิต ร้อยละ 56.0 ระบุว่าเข้าร่วมกิจกรรมควบคุม
ไข้เลือดออก ร้อยละ 46.0 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมตรวจมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 48.0 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
ควบคุมมะเร็งเต้านม ร้อยละ 74.0 ระบุไม่มีกิจกรรมฝึกอาชีพเสริม ร้อยละ 72.0 ระบุไม่มีกิจกรรม
ส่งเสริมการท่องเที่ยว ร้อยละ 74.0 ไม่มีกิจกรรมเสริมรายเด็ก ร้อยละ 72.0 ระบุว่าเข้าร่วมกิจกรรมชีวิต
พอเพียง ร้อยละ 66.0 ไม่มีกิจกรรมกลุ่มแม่บ้าน ร้อยละ 52.0 ไม่มีกิจกรรมOTOP ร้อยละ 68.0 ระบุว่าไม่
มีการทำบัญชีครัวเรือน ร้อยละ 68.0 ไม่มีกิจกรรมกองทุนหมู่บ้าน ร้อยละ 60.0 ไม่มีกิจกรรมกลุ่ม
ฌาปนกิจ ร้อยละ 68.0 ไม่มีกิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์ ร้อยละ 68.0 ไม่มีกิจกรรมกองทุนอาชีพ
ร้อยละ 68.0 ไม่มีกิจกรรมร้านค้าชุมชน ส่วนใหญ่ร้อยละ 86.0 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมออมทรัพย์อื่นๆ
ในชุมชนร้อยละ 44.0 ไม่มีกิจกรรมกลุ่มอนุรักษ์ศิลปะ ร้อยละ 56.0 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมทำบุญตักบาตร
ร้อยละ 52.0 ระบุการว่าไม่มีกิจกรรมปีใหม่สงกรานต์ ร้อยละ 38.0 ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมศิลปะ
ร้อยละ 62.0 เข้าร่วมกิจกรรมศาสนพิธี ร้อยละ 98.0 ไม่ระบุการเข้าร่วมพิธีอื่น ร้อยละ 72.เข้าร่วมกิจกรรม
ป้องกันยาเสพติด ร้อยละ 52.0 เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มผู้สูงอายุร้อยละ 60.0 เข้าร่วมกิจกรรมเยาวชน ร้อยละ
54.0 ไม่มีกิจกรรมป้องกันขโมย ร้อยละ 64.0 ไม่มีกิจกรรมห่วงใยวัย70 ร้อยละ42.0 เข้าร่วมกิจกรรม
ส่งเสริมสถาบันครอบครัว ร้อยละ 44.0 เข้าร่วมกิจกรรมสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส/ผู้พิการ ร้อยละ 48.0 ไม่มี
กิจกรรมกองทุนพัฒนาชุมชน ร้อยละ 42.0 ไม่มีกิจกรรมกองทุนผู้สูงอายุ ร้อยละ 72.0 เข้าร่วมกิจกรรมระวัง
คุณภาพน้ำ ร้อยละ 74.0 เข้าร่วมกิจกรรมชุมชนน่าอยู่ร้อยละ 78.0 เข้าร่วมกิจกรรมเก็บขยะในชุมชน ร้อยละ
74.0 เข้าร่วมกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ร้อยละ 76.0 เข้าร่วมกิจกรรมขุดลอกคูคลอง ร้อยละ 78.0 เข้า
ร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้ ร้อยละ 76.0 เข้าร่วมกิจกรรมซ่อมแซมสาธารณูปโภค ร้อยละ 76.0 เข้าร่วม
กิจกรรมทำความสะอาด ร้อยละ 76.0 เข้าร่วมกิจกรรมทิ้งขยะในถัง ร้อยละ 58.0 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมอนุรักษ์อื่นๆ ร้อยละ 80.0 เข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์การเลือกตั้ง ร้อยละ 80.0 เข้าร่วมกิจกรรมอบรม
ความรู้การเมือง ร้อยละ 96.0 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมืองอื่นๆ