ชุมชนชมทรัพย์
ชุมชนชมทรัพย์ แขวงบางมด เขต ทุ่งครุ จังหวัด กรุงเทพมหานคร.
1. ข้อมูลพื้นฐานของชุมชน

1.1 ประวัติและความเป็นมาของชุมชน
      ที่มาของชื่อชุมชน สภาพทางกายภาพของชุมชนชมทรัพย์ในอดีตนั้นเป็นชุมชนที่มีลักษณะคล้ายกับ
ชุมชนชนบททั่วไป จากการสัมภาษณ์ผู้นำชุมชน กล่าวคือ มีผู้อพยพมาตั้งถิ่นฐานเพื่อประกอบอาชีพทำนา
ซึ่งเป็นอาชีพหลักของทุกครัวเรือน โดยในระยะแรกมีบ้านเรือนประมาณ 4-5 หลังคาเรือน เป็นคนที่ย้ายมา
จากต่างจังหวัด ได้แก่ สมุทรปราการ นนทบุรี เป็นส่วนใหญ่ หลังจากที่ในเขตทุ่งครุมีการปลูกส้มบางมด
มากขึ้นนั้นเป็นแรงจูงใจสำคัญที่ทำให้คนภายนอกย้ายถิ่นฐานเข้ามาตั้งบ้านเรือนในชุมชนแห่งนี้เพื่อทำสวน
ส้ม ทำให้อาชีพทำนาของคนในชุมชนหายไป(ประมาณ 20 ก่อน คือ พศ. 2530) การปลูกส้มของเกษตรกร
ในชุมชนนั้นประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี ทำรายได้ให้แก่คนในชุมชนเป็นอย่างดี แต่เมื่อมีปัญหาเรื่อง
น้ำเค็มและดินเสื่อมสภาพในเขตทุ่งครุ ทำให้คนในชุมชนเลิกอาชีพการปลูกส้มไปในที่สุด ประมาณ 10 ปีที่
ผ่านมา ซึ่งเป็นเหตุสำคัญอีกประการหนึ่งที่ทำให้คนภายนอกชุมชนเข้ามาอาศัยในชุมชนเพิ่มมากขึ้น
เนื่องจากที่ดินบริเวณนี้มีไว้สำหรับเช่าเพื่อตั้งบ้านเรือน ปัจจุบันทำให้ชุมชนแห่งนี้มีจำนวนประชากรอาศัย
อยู่อย่างหนาแน่นมากแห่งหนึ่ง

1.2 โครงสร้างพื้นฐานชุมชนเริ่มเข้าไปโครงสร้างพื้นฐานชุมชน เริ่มเข้าไปพัฒนาเมื่อปี พ.ศ.2540 ภายหลัง
      จากการตั้งชุมชนก็มีระบบขอโครงสร้างพื้นฐานของชุมชนเข้ามา คือ ไฟฟ้า น้ำประปา และสะพานเดินเท้า
รอบชุมชน ลานกีฬาชุมชนซึ่งเป็นที่ออกกำลังการของคนในชุมชน และศูนย์สุขภาพชุมชนอีก 2 แห่ง
      ชุมชนชมทรัพย์ประกอบด้วยคณะกรรมการชุมชนทั้งสิ้น 8 คน อสส. 2 คน ชุมชนแห่งนี้ได้รับ
รางวัลชุมชนสะอาดยอดเยี่ยมในปี พ.ศ. 2545 มีการตั้งชุมชนอย่างเป็นทางการในปี 2537 ประมาณ 13 ปีผ่านมาแล้ว
      การประกอบอาชีพของคนส่วนใหญ่ของชุมชนในปัจจุบัน คือ อาชีพ ค้าขาย รับจ้าง และข้าราชการ
เป็นส่วนน้อย

1.3 สภาพปัจจุบัน สภาพปัจจุบัน ประชากรทั้งหมด คน ชาย คน หญิง คน
      ในหมู่บ้าน/ชุมชนมี 1220 ครัวเรือน ครอบครัว มีบ้าน หลังคาเรือน (ข้อมูลจากข้อมูลชุมชน
แขวงบางมด สำนักงานเขตทุ่งครุ)

1.4 วัฒนธรรม/ประเพณี/ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในอดีต-ปัจจุบัน
      วัฒนธรรมประเพณีของคนในชุมชน ประชากรส่วนใหญ่ในชุมชนมีทั้งพุทธและอิสลาม ดังนั้น
ประเพณีพิธีกรรมที่สำคัญจึงมีทั้งสองศาสนา ดังนี้ ประเพณีที่เกี่ยวข้องกับพุทธศานา คือ การทำบุญวันขึ้นปี
ใหม่ ประเพณีสงกรานต์ การทำบุญขึ้นบ้านใหม่ เป็นต้น ส่วนศาสนาอิสลาม มีกิจกรรมทางศาสนาในวัน
ดังกล่าว คือ งานวันเมาลิด ความสำคัญของวันนี้คือ เป็นวันที่พี่น้องมุสลิมจะทำการสรรเสริญให้กับวัน
คล้ายวันเกิดของท่านนบีมูฮัมหมัด งานอิซิกุโบร์ เป็นงานทำบุญให้กับผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว จัดทุกวันพฤหัสบดี
ต้นเดือนของทุกเดือน การถือศีลอดในเดือนร็อมฏอล ของทุกปี ส่วนกิจกรรมที่ทำร่วมกันของคนในชุมชน
คือ กิจกรรมวันเด็ก คนในชุมชนให้ความสำคัญเป็นอย่างมาก จึงมีกิจกรรมการเล่นเกมสืเพื่อให้เด็กๆ ใน
ชุมชนได้เข้าร่วมทุกคน

1.5 ปัญหาสำคัญภายในชุมชนมีดังนี้
      จากการสัมภาษณ์ผู้นำชุมชน ได้ให้ข้อมูลว่าชุมชนชมทรัพย์แม้ว่าจะเป็นชุมชนที่มีจำนวนประชากร
อาศัยอยู่อย่างหนาแน่นก็ตาม แต่ในชุมชนไม่มีเหตุขัดแย้งระหว่างสมาชิกในชุมชน ส่วนสภาพปัญหาที่
สำคัญของชุมชน คือ ปัญหาความแออัด ปัญหามลภาวะ ซึ่งผู้นำชุมชนและสมาชิกในชุมชนพยายามหาทาง
ป้องกัน แก้ไข โดยการเข้ารับการฝึกอบรมเกี่ยวกับการสร้างสภาวะแวดล้อมให้น่าอยู่ เช่น การส่งสมาชิกใน
ชุมชนเข้ารับการฝึกอบรมจากหน่วยงานทั้งภาครับและเอกชน และนำความรู้ที่ได้มาถ่ายทอดให้แก่สมาชิก
ในชุมชนอีกต่อหนึ่ง เช่นเดียวกับการแก้ปัญหายาเสพติดของชุมชน ที่จะมีการประสานงานกับภาครัฐและ
เอกชนเพื่อเข้ารับการฝึกอบรมโดยเฉพาะกลุ่มเป้าหมายคือ เยาวชนของชุมชน เป็นต้น ซึ่งทุกคนในชุมชนให้
ความร่วมมือเป็นอย่างดีจึงมีการฝึกอบรมอย่างต่อเนื่องเสมอมา

1.6 การทำงานร่วมกับหน่วยงานภายนอกชุมชนทั้งภาครัฐและเอกชน
      การทำงานรวมกับหน่วยงานภายนอกชุมชนทั้งภาครัฐและเอกชน
      1) การทำงานร่วมกับสำนักงานเขตทุ่งครุ ในการดำเนินงานต่างๆของชุมชน
      2)การทำงานร่วมกับสาธารณสุข ในเรื่องสุขภาพอนามัยของคนในชุมชน
ลักษณะเด่นของชุมชน คือ การรวมกลุ่มของคนในชุมชน พบว่า คนในชุมชนมีการรวมตัวกันอย่างเหนียว
แน่นเนื่องจากมีการประสานงานระหว่างผู้นำชุมชนกับสมาชิกในชุมชนเป็นประจำ โดยเฉพาะการเข้ารับ
การฝึกอบรมจากหน่วยงานต่างๆ ทำให้ชุมชนแห่งนี้มีจุดแข็งคือ เป็นชุมชนที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน
เป็นอย่างดี

1.7 แผนที่ชุมชน

-

1.8 ภาพสภาพแวดล้อมของชุมชน

2. ข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์คณะกรรมการชุมชนชมทรัพย์
ชื่อชุมชน ชมทรัพย์
ชื่อผู้ให้สัมภาษณ์ ตำแหน่ง/หน้าที่
    1. ที่ตั้งของชุมชน ซอยประชาอุทิศ 69
    2. อาณาเขตติดต่อ
      - ทิศเหนือติดกับ คลองสะพานควาย
      - ทิศตะวันออกติดกับ หมู่บ้านสิรินทร์
      - ทิศใต้ติดกับ ซอยประชาอุทิศ 79
      - ทิศตะวันตกติดกับ ถนนประชาอุทิศ

    3. คณะกรรมการชุมชนมีบทบาทในการพัฒนาหรือการปกครองชุมชนอย่างไรบ้าง
      3.1 ประสานงานกับหน่วยงานภายนอก
      3.2 สำรวจ เฝ้าระวังชุมชน

    4. ภายในชุมชนมีสถานที่สำคัญอะไรบ้างและมีความเป็นมาอย่างไร
      4.1 มัสยิด
      4.2 โรงเรียนสอนศาสนา
      4.3 ศูนยเด็กเล็ก
      4.4 ศูนย์รับแจ้งเหตุเรื่องราวร้องทุกข์

    5. ชุมชนมีกฎระเบียบหรือข้อบังคับในการอยู่ร่วมกันภายในชุมชนอย่างไรบ้าง
      เนื่องจากชุมชนเป็นชุมชนที่มีสภาพชุมชนค่อนข้างเป็นเมือง คือ อยู่สองฝากฝั่งของซอย
ประชาอุทิศ 69 สภาพที่อยู่อาศัยมีทั้งบ้านเดี่ยว หอพัก อาคารพานิช ห้องเช่า หมู่บ้านจัดสรร การอยู่ร่วมกัน
ของคนในชมชนจึงไม่มีกฏกติกาที่ชัดเจน

    6. ชุมชนมีนโยบายหรือแผนในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง
      6.1 แก้ไขปัญหายาเสพติด
      6.2 แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม
      6.3 ติดตั้งเสียงตามสายเพิ่มและกล้องวงจรปิดเพื่อเฝ้าระวังชุมชน

    7. ในชุมชนมีปัญหาอะไรบ้าง
      - ปัญหาด้านสังคม
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหายาเสพติด
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาฆาตกรรม ปัญหาลักเล็กขโมยน้อย
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาวิ่งราว ปัญหาทะเลาะกัน ปัญหาการหย่าร้าง
        ปัญหาผู้สูงอายุถูกทอดทิ้ง ปัญหาความขัดแย้งกันในชุมชน

      - ปัญหาด้านเศรษฐกิจ
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาหนี้ในระบบ ปัญหาขาดตลาดสำหรับขาย
        ผลิตภัณฑ์ ปัญหาการรวมกลุ่มอาชีพ
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาคนว่างงาน ปัญหาหนี้นอกระบบ

      - ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการจราจรที่มักเกิดอุบัติเหตุ
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาเส้นทางการจราจรที่หนาแน่นและการ
        เดินทางที่ไม่สะดวกสบาย
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง -

      - ปัญหาด้านสารธารณสุข
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการติดสุรา บุหรี่ ปัญหาอุบัติเหตุจากการจราจรบนท้องถนน
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง การแพร่ระบาดของโรคที่มีสัตว์นำโรคเป็นพาหะเช่น ยุง
        แมลง หนู ความเสี่ยงในการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ เช่น ความดัน
        โลหิต เบาหวาน ปัญหาโรคไม่คิดต่อ เช่น มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม

      - ปัญหาด้านการศึกษา
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการศึกษาในระบบโรงเรียนยังขาดแคลนงบประมาณ หรือทุนสนับสนุนการศึกษา

      - ปัญหาด้านศาสนา
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง –

      - ปัญหาด้านประเพณีและวัฒนธรรม
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาขาดการสนับสนุนและส่งเสริมการทำนุบำรุงรักษา ประเพณี และวัฒนธรรมท้องถิ่น
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง-

      - ปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง น้อยทุกปัญหา

      - ปัญหาด้านการเมืองการบริหาร
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง คนในชุมชนขาดการมีส่วนร่วมในการเลือกตั้งตาม
        ระบอบประชาธิปไตย บุคลากรทางการเมือง ขาดความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง การให้บริการข้อมูลข่าวสารและการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ยังไม่ทั่วถึงและเพียงพอ
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง -

    8. จงเรียงลำดับความสำคัญของปัญหาที่ชุมชนต้องแก้ไขเร่งด่วนมากที่สุด เพราะอะไร
      8.1 ยาเสพย์ติด
      8.2 สิ่งแวดล้อม
      8.3 ประชากรแผง คนต่างด้าว

    9. ในชุมชนมีกลุ่มกิจกรรมอะไรบ้างที่ทางราชการและเอกชนเข้ามาส่งเสริม
      - ด้านสุขภาพ
        มี กิจกรรมอะไรบ้าง มีทุกกิจกรรม
        ไม่มี กิจกรรมอะไรบ้าง -

      - ด้านอาชีพ
        มี กิจกรรมอะไรบ้าง การฝึกอบรมอาชีพเสริม จัดตั้งกลุ่มแม่บ้าน กลุ่ม OTOP
        ไม่มี กิจกรรมอะไรบ้าง การส่งเสริมการท่องเที่ยว ส่งเสริมรายได้พิเศษของเด็ก
        กิจกรรมชีวิตพอเพียงตามแนวพระราชดำริ

      - ด้านการออมทรัพย์
        มี กิจกรรมอะไรบ้าง การทำบัญชีครัวเรือน รายรับ – จ่าย กองทุนหมู่บ้าน กลุ่ม
        ฌาปนกิจ กลุ่มออมทรัพย์ กองทุนประกอบอาชีพ
        ไม่มี กิจกรรมอะไรบ้าง กองทุนร้านค้าในชุมชน

      - ด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
        มี กิจกรรมอะไรบ้าง มีทุกกิจกรรม
        ไม่มี กิจกรรมอะไรบ้าง -

      - ด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม
        มี กิจกรรมอะไรบ้าง มีทุกกิจกรรมยกเว้นป้องกันการขโมย
        ไม่มี กิจกรรมอะไรบ้าง ป้องกันการขโมย

      - ด้านการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อม
        มี กิจกรรมอะไรบ้าง มีทุกกิจกรรม
        ไม่มี กิจกรรมอะไรบ้าง -

      - ด้านการเมืองการปกครอง
        มี กิจกรรมอะไรบ้าง มีทุกกิจกรรม
        ไม่มี กิจกรรมอะไรบ้าง -

    10. ชุมชนมีโครงการในการพัฒนาชุมชนอะไรบ้างและแต่ละโครงการมีกิจกรรมอย่างไร
      10.1 โรงการสื่อสัมพันธ์ วิทยุชุมชน กิจกรรม คือ ประสานงานชุมชนไปยังหน่วยต่างในเขต
      10.2 โครงการอบรมใช้เครื่องดับเพลิงชุมชน

    11. คนดีและเก่งที่เป็นกำลังสำคัญในชุมชน
      - ด้านการทำอาหาร คุญอารี, อนงค์ อับดุลเลาห์ , คุณเยาะ แสงมา
      - ด้านการช่าง คุณจำรูญ อาฮาหมัด, จันทวา ทองคำพัน, วิมลลักษณ์ ภักดีเจริญ, อามีน, วิชาญ อาฮาหมัด
      - ด้านการเกษตร คุณสนิท บิลซามัล, ศิริกัลยา สุนพันธ์
      - ด้านศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม (ทุกศาสนาที่มีอยู่ในชุมชน) คุณมูฮาหมัด โต๊ะวัง
      - ด้านการแพทย์แผนไทย คุณวาสนา ดอเลาห์กอสะเร็ม
      - ด้านการประดิษฐ์
      - ด้านอื่น ๆ

    12. ในชุมชนมีจุดอ่อนจุดแข็งอะไรบ้าง
      จุดแข็ง ผู้นำทางศาสนาและผู้นำชุมชนเข้มแข็ง เป็นที่เคารพเชื่อถือของคนในชุมชน
สามารถรวบรวมคนในชุมชนได้ คณะกรรมการชุมชนแบ่งหน้าที่รับผิดชอบชัดเจนและทำหน้าที่ได้ดี
      จุดอ่อน คนในชุมชนไม่ค่อยให้ความร่วมมือเท่าที่ควร ช่องว่างระหว่างศาสนาของคนใน
ชุมชน

    13. รายชื่อคณะกรรมการหมู่บ้าน
      1. นายอุดม หวะสุวรรณ ประธาน
      2. นายสุเทพ มิตรสุพล รองประธาน
      3. นายวิรูญ อาหะหมัด เลขานุการ
      4. นายบวรศักดิ์ กรรมการ
      5. นางอนงค์ อับดุลเลาะห์ กรรมการ
      6. นายวิชาญอาหะหมัด กรรมการ
      7. นายสมาน บุญโต กรรมการ

    14. รายชื่อพัฒนาชุมชน (อช.) คณะกรรมการชุมชน
    15. รายชื่ออาสาสาธารณประจำชุมชน (อส.ม)
      1.นายอุดม หวะสุวรรณ
      2. นายมนัส ถาวรวัฒนะ
      3. นางวาสนา ร้อยหวัง
      4. นางมยุรี ธรรมภาพ

    16. ในชุมชนมีสิ่งที่ทำให้สมาชิกในชุมชนมีความภาคภูมิใจอะไรบ้างเพราะอะไร
เอื้อเฝื้อเผื่อแผ่ ความเมตตา ห่วงใยซึ่งกันและกัน
    17. ชุมชนมีความต้องการหรือความคาดหวังในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง
      1. จัดตั้งกองทุนการประกอบอาชีพ
      2. ปรับปรุงสาธารณูปโภคในชุมชน
      3. ชุมชนสะอาดสิ่งแวดล้อมดี

3. ข้อมูลแบบสอบถามของชุมชน
    3.1. ส่วนที่ 1 ข้อมูลด้านประชากรของสมาชิกในครัวเรือน
    3.1.1 ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนของชุมชนประกอบด้วย ข้อมูลรวมของสมาชิกในครัวเรือน
ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเพศชาย และ ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเพศหญิง
ตารางที่ 1 แสดงจำนวนของสมาชิกในครัวเรือน

ครัวเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนนี้มีสมาชิกประมาณ 3-5 คนต่อครัวเรือน
    3.1.2 ข้อมูลส่วนบุคคลของสมาชิกในครัวเรือนทั้งหมด
ตารางที่ 2 ร้อยละของเพศชายและเพศหญิง

ประชากรประกอบด้วยเพศชาย ร้อยละ 46.2 เพศหญิงร้อยละ 50.3
ตาราง 3 ร้อยละของอายุประชากรในชุมชน

ชุมชนชมทรัพย์ ประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง 0-10 ปี
ตาราง 4 ระดับการศึกษา

ชุมชนชมทรัพย์ ประชากรส่วนใหญ่มีการศึกษาในระดับประถมศึกษา
ตาราง 5 การนับถือศาสนา

ชุมชนชมทรัพย์ ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ
ตาราง 6 รายได้ของคนในชุมชน

ชุมชนชมทรัพย์ ประชากรส่วนใหญ่มีรายได้อยู่ในช่วง 5001-10000 บาท
ตาราง 7 รายจ่ายของคนในชุมชน

ชุมชนชมทรัพย์ ประชากรส่วนใหญ่มีรายจ่ายอยู่ในช่วง 1-5000 บาท
ตาราง 8 อาชีพหลัก ของคนในชุมชน

ชุมชนชมทรัพย์ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพหลักคือ รับจ้าง
ตาราง 9 อาชีพเสริม ของคนในชุมชน

คนในชุมชนร่วมใจส่วนใหญ่ไม่มีอาชีพเสริม
ตาราง 10 โรคประจำตัวของคนในชุมชน

โรคประจำตัว ของคนในชุมชนชมทรัพย์ ได้แก่หอบหืด ความดันโลหิต
    3.1.3 ตารางที่ 11 สถานะภาพครอบครัวในชุมชน

คนในชุมชนอยู่ด้วยกันประมาณ ร้อยละ 84.7
    3.1.4 ข้อมูลความขัดแย้งหรือการทะเลาะกันใน
ครัวเรือน (ตารางที่ 12)

คนในชุมชนร้อยละ 45.9 ไม่ทะเลาะกัน
    3.1.5 จำนวนข้อมูลผู้ว่างงานในครัวเรือน
(ตารางที่ 13)

ครัวเรือนในชุมชนส่วนใหญ่มีคนว่างงาน
ประมาณ 2 คน
    3.1.6 ข้อมูลจำนวนผู้พิการในครัวเรือน
(ตารางที่ 14)

มีอยู่ประมาณ 5 ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็นร้อยละ 4.5 ของครัวเรือนทั้งหมด
    3.1.7 ข้อมูลจำนวนผู้ติดสุราในครัวเรือน
(ตารางที่ 15)

มีผู้ติดสุรา 1คนคิดเป็นร้อยละ 15.3 ของครัวเรือนทั้งหมด
    3.1.8 ข้อมูลจำนวนผู้ติดบุหรี่ในครัวเรือน
(ตารางที่ 16)

มีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คนคิดเป็นร้อยละ 29.7ของครัวเรือนทั้งหมด
   3.1.9 ข้อมูลการเล่นการพนันในครัวเรือน ประกอบด้วย การเล่นการพนันของสมาชิกใน
ครัวเรือน และข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ เล่นการพนัน
ข้อมูลการเล่นพนันของสมาชิกในครัวเรือน(ตารางที่ 17)

ร้อยละ 20.7 ของครัวเรือนทั้งหมด เล่นการพนัน
ข้อมูลจำนวนสมาชิกที่เล่นการพนันในครัวเรือน
(ตารางที่ 18)

มีผู้เล่นการพนัน 1-2 คน 19 ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 17.1 ของครัวเรือนทั้งหมด
    3.1.10ข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกในครัวเรือน ประกอบด้วย ข้อมูลการซื้อ
สลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกในครัวเรือน ข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล และข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกใน
ครัวเรือน (ตารางที่ 19)

ร้อยละ 40.5 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล
ข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล (ตารางที่ 20)

ร้อยละ 20.7 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล ส่วนใหญ่จะซื่อประมาณ 1 คนใน
ครอบครัว ข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล
(ตารางที่ 21)

ส่วนใหญ่ใช้เงินซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลเดือนละ 300 บาท
    3.1.11 ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายของครัวเรือน ประกอบด้วย ค่าอาหาร ค่าเช่าบ้านหรือ
ผ่านบ้าน ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ค่าการศึกษาบุตร ค่าเดินทาง ค่าเครื่องใช้ในครัวเรือน ค่า
เครื่องใช้ส่วนตัว และค่ารักษาพยาบาลข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าอาหารของครัวเรือน (ตารางที่ 22)

ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ อันดับ 1
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า เช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านของครัวเรือน
(ตารางที่ 23)

ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 1
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าน้ำ ค่าไฟ และค่าโทรศัพท์ของครัวเรือน
(ตารางที่ 24)

ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 2
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
การศึกษาของบุตร (ตารางที่ 25)

ค่าเล่าเรียนบุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 4
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เดินทาง (ตารางที่ 26)

ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้ความสำคัญอันดับ 5
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
ของใช้ในครัวเรือน (เช่น สบู่ แชมพู ผงซักฟอก
เครื่องใช้ไฟฟ้า ฯลฯ) (ตารางที่ 27)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่ แชมพู ผงซักฟอก เครื่องใช้ไฟฟ้า มีความสำคัญอันดับ 4
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัว (เช่น เสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้าฯลฯ)(ตารางที่ 28)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัวให้
ความสำคัญอันดับ 6 ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
รักษาพยาบาล (ตารางที่ 29)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้ความสำคัญอันดับ 7
    3.1.12ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือนประกอบด้วย ข้อมูลการออมเงิน และข้อมูล
จำนวนเงินออม ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน (ตารางที่ 30)

มีการออมเงินร้อยละ 43.1 ของครัวเรือนทั้งหมด
ข้อมูลจำนวนเงินออมในครัวเรือน (ตารางที่ 34)

ร้อยละ5.4 ของครัวเรือนมีเงินออม 10000 บาท
ต่อครัวเรือน
    3.1.13 ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน
ประกอบด้วย ข้อมูลการมีหนี้สิน และข้อมูลจำนวนหนี้สิน
ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน (ตารางที่ 32)

ร้อยละ 52.3 ของครัวเรือนมีหนี้สิน
ข้อมูลจำนวนหนี้สินในครัวเรือน (ตารางที่ 33)

ร้อยละ 8.1 ของครัวเรือนมีหนี้สินประมาณ 5001- 10000 บาทต่อครัวเรือน
3.1.14 ข้อมูลการทำรายรับ – รายจ่าย (ตารางที่ 34)

ร้อยละ73.9 ไม่มีการทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย
3.2. ส่วนที่ 2 ข้อมูลด้านที่อยู่อาศัย
3.2.1 ภูมิลำเนาเดิม
3.2.2 ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในชุมชน (ตารางที่ 35)

อาศัยอยู่ในชุมชนส่วนใหญ่อาศัยอยู่ประมาณ 0-10 ปี
3.2.3 การครอบครองที่อยู่อาศัย ประกอบด้วย
ข้อมูลการครอบครองที่อยู่อาศัย และข้อมูลด้าน
จำนวนพื้นที่อยู่อาศัย
การครอบครองที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 36)

ส่วนใหญ่เป็นผู้เช่าร้อยละ 56.8
จำนวนพื้นที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 37)

ชุมชนส่วนใหญ่มีพื้นที่อาศัยอยู่ประมาณ 0-25 ตรว.
3.2.4 ลักษณะของที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 41)

ส่วนใหญ่อาศัยแบบบ้านเดี่ยวสองชั้นร้อยละ 28.8
3.2.5 บริเวณที่อยู่อาศัยของท่านมีความปลอดภัย
ในชีวิตและทรัพย์สินหรือไม่ (ตารางที่ 39)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 55.0 เห็นว่ามีความปลอดภัยใน
ระดับปานกลาง
3.2.6 ครัวเรือนของท่านถูกรบกวนจากภาวะต่าง ๆ หรือไม่
ถูกรบกวนจากขยะ (ตารางที่ 40)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 35.1 เห็นว่าถูกรบกวนจากขยะในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากน้ำเน่าเสีย (ตารางที่ 44)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 31.5 เห็นว่าไม่ถูกรบกวนจากน้ำเสีย
ถูกรบกวนจากน้ำท่วม (ตารางที่ 42)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 34.2 เห็นว่าไม่ถูกรบกวนจากน้ำท่วม
ถูกรบกวนจากเสียงดัง (ตารางที่ 43)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 39.6 เห็นว่าถูกรบกวนจากเสียง
ดังในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากการจราจรติดขัด (ตารางที่ 44)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 34.2 เห็นว่าถูกรบกวนจาก
จราจรติดขัดในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากฝุ่นควันและก๊าซพิษ (ตารางที่ 45)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 32.4 มีปัญหาในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากด้านอื่น ๆ (ตารางที่ 46)

ส่วนใหญ่ ไม่ระบว่าถูกรบกวนจากสิ่งอื่นๆ
3.2.7 ในรอบปีที่ผ่านมาครัวเรือนของท่านได้รับ
การช่วยเหลือหรือการสนับสนุน ด้านใดบ้างและ
จากหน่วยงานใด (เช่น) ค่าเล่าเรียนบุตร การ
ส่งเสริมอาชีพ การพ่นหมอกควันกำจัดยุง)
(ตารางที่ 47

ส่วนใหญ่ร้อยละ 53.2 ไม่ได้รับความช่วยเหลือ
จากหน่วยงานต่างๆ
3.3 ส่วนที่ 3 ข้อมูลด้านการเป็นสมาชิกกลุ่มหรือ
การร่วมทำกิจกรรมที่ได้รับการส่งเสริม
3.3.1 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านสุขภาพ
กิจกรรมออกกำลังกายผู้สูงอายุ (ตารางที่ 48)

ส่วนใหญ่ร้อยละ70.3 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมสุขภาพ
เยาวชนรักกีฬา (ตารางที่ 49)

ส่วนใหญ่ร้อยละ67.6 ระบุว่า ไม่มีกิจกรรม
เยาวชนรักกีฬา
เต้นแอโรบิค (ตารางที่ 50)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 64.0 ระบุว่า ไม่มีกิจกรรมเต้น
แอโรบิค งดสูบบุหรี่ (ตารางที่ 51)

ส่วนใหญ่ร้อยละ70.3 ระบุว่า ไม่มีกิจกรรมงดสูบ
บุหรี่ ต่อต้านยาเสพติด (ตารางที่ 52)

ส่วนใหญ่ร้อยละ61.3 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมต่อต้านยาเสพติด
ป้องกันอุบัติเหตุ (ตารางที่ 53)

ส่วนใหญ่ร้อยละ66.7 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมป้องกัน
อุบัติเหตุควบคุมเบาหวาน (ตารางที่ 54)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 67.6 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
ควบคุมเบาหวาน ควบคุมความดันโลหิต (ตารางที่ 55)

ส่วนใหญ่ร้อยละ70.3 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมควบคุม
ความดันโลหิต ควบคุมไข้เลือดออก (ตารางที่ 56)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 51.4 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
ควบคุมไข้เลือดออก ตรวจมะเร็งปากมดลูก (ตารางที่ 57)

ส่วนใหญ่ร้อยละ72.1ระบุว่าไม่มีกิจกรรมตรวจ
มะเร็งปากมดลูก ตรวจมะเร็งเต้านม (ตารางที่ 58)

ส่วนใหญ่ร้อยละ72.1 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
ควบคุมมะเร็งเต้านม
3.3.2 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านอาชีพ
ฝึกอาชีพเสริม (ตารางที่ 59)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 70.3 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมฝึก
อาชีพเสริม
ส่งเสริมการท่องเที่ยว (ตารางที่ 60)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.1 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
ส่งเสริมการท่องเที่ยว
ส่งเสริมรายได้เด็ก (ตารางที่ 61)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 70.3 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมเสริม
รายเด็ก
กิจกรรมชีวิตพอเพียง (ตารางที่ 62)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 64.9 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมชีวิต
พอเพียง
กลุ่มแม่บ้าน (ตารางที่ 63)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 65.8 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่ม
แม่บ้าน OTOP (ตารางที่ 64)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 69.4 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมOTOP
3.3.3 ข้อมูลด้านการออมทรัพย์
การทำบัญชีครัวเรือน (ตารางที่ 65)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68.5 ระบุว่าไม่มีการทำบัญชี
ครัวเรือน
กองทุนหมู่บ้าน (ตารางที่ 66)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 64.0 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
กองทุนหมู่บ้าน
กลุ่มณาปนกิจ (ตารางที่ 67)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68.5 ระบุว่า ไม่มีกิจกรรมกลุ่ม
ฌาปนกิจ
กลุ่มออมทรัพย์ (ตารางที่ 68)

ส่วนใหญ่ร้อยละ67.6 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่ม
ออมทรัพย์
กองทุนอาชีพ (ตารางที่ 69)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.1 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
กองทุนอาชีพ ร้านค้าชุมชน (ตารางที่ 70)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.2 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมร้านค้า
ชุมชน
ออมทรัพย์อื่นๆ (ตารางที่ 71)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 59.5 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมออม
ทรัพย์อื่นๆในชุมชน
3.3.4 ข้อมูลด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
อนุรักษ์ศิลปะ (ตารางที่ 72)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 65.8 ระบุว่า ไม่มีกิจกรรมกลุ่ม
อนุรักษ์ศิลปะ
การทำบุญตักบาตร (ตารางที่ 73)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 57.7 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมทำบุญ
ตักบาตร
วันปีใหม่สงกรานต์ (ตารางที่ 74)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 55.0 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมปีใหม่
สงกรานต์
การส่งเสริมศิลปะ (ตารางที่ 75)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 59.5 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
ส่งเสริมศิลปะ ศาสนพิธี (ตารางที่ 76)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 57.7 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมศาสนพิธี
พิธีอื่นๆ (ตารางที่ 77)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 57.7 ระบุว่าไม่มีพิธีอื่น
3.3.5 ข้อมูลด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม
ป้องกันยาเสพติด (ตารางที่ 78)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 66.7 ระบุว่า ไม่มีกิจกรรม
ป้องกันยาเสพติด
กลุ่มผู้สูงอายุ (ตารางที่ 79)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 65.8 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่ม
ผู้สูงอายุ
กิจกรรมเยาวชน (ตารางที่ 80)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 65.8 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
เยาวชน
ป้องกันขโมย (ตารางที่ 81)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 69.4 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
ป้องกันขโมยกิจกรรมห่วงใยวัย70 (ตารางที่ 82)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 65.8 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมห่วงใยวัย7จ
ส่งเสริมสถาบันครอบครัว (ตารางที่ 83)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 67.6 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
ส่งเสริมสถาบันครอบครัว
กิจกรรมสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส(ตารางที่ 84)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 70.3 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
สงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส/ผู้พิการ
กองทุนพัฒนาชุมชน (ตารางที่ 85)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68.5 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
กองทุนพัฒนาชุมชน
กองทุนผู้สูงอายุ (ตารางที่ 86)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 70.3 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
กองทุนผู้สูงอายุ
3.3.6 ข้อมูลด้านการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อม
ระวังคุณภาพน้ำ (ตารางที่ 87)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 63.1 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมระวัง
คุณภาพน้ำ ชุมชนน่าอยู่ (ตารางที่ 88)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68.5 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมชุมชน
น่าอยู่
เก็บขยะในชุมชน (ตารางที่ 89)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 64.9 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมเก็บ
ขยะในชุมชน
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (ตารางที่ 90)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 65.8 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ขุดลอกคูคลอง (ตารางที่ 91)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 66.7 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมขุด
ลอกคูคลอง
ปลูกต้นไม้ (ตารางที่ 92)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 63.1 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมปลูก
ต้นไม้
ซ่อมแซมสาธารณูปโภค (ตารางที่ 93)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 63.1 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
ซ่อมแซมสาธารณูปโภค ทำความสะอาด (ตารางที่ 94)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 64.9 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมทำ
ความสะอาด
ทิ้งขยะในถัง (ตารางที่ 95)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 57.7 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมทิ้งขยะในถัง
อนุรักษ์อื่นๆ (ตารางที่ 96)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 55.0 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
อนุรักษ์อื่นๆ
3.3.7 ข้อมูลด้านการเมืองการปกครอง
รณรงค์เลือกตั้ง (ตารางที่ 97)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 55.0 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมรณรงค์การเลือกตั้ง อบรมความรู้การเมือง (ตารางที่ 98)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 64.9 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
อบรมความรู้การเมือง

รณรงค์อื่นๆ (ตารางที่ 99)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 64.9 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมทาง
การเมืองอื่นๆ

สรุปข้อมูลจากการสำรวจโดยแบบสอบถามระหว่างวันที่ …..................
      สำรวจโดยใช้แบบสอบถามจากครัวเรือนทั้งหมด 111 ครัวเรือนคิดเป็น 60 เปอร์เซนต์ของ
ครัวเรือนทั้งหมดในชุมชน ในชุมชนนี้มีสมาชิกประมาณ ครัวเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนนี้มีสมาชิกประมาณ
3-5 คนต่อครัวเรือนประชากรประกอบด้วยเพศชาย ร้อยละ 46.2 เพศหญิงร้อยละ 50.3ชุมชนชมทรัพย์
ประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง 0-10 ปี ชุมชนชมทรัพย์ ประชากรส่วนใหญ่มีการศึกษาในระดับ
ประถมศึกษาประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธประชากรส่วนใหญ่มีรายได้อยู่ในช่วง 5001-10000 บาท
ประชากรส่วนใหญ่มีรายจ่ายอยู่ในช่วง 1-5000 บาท ประกอบอาชีพหลักคือ รับจ้างไม่มีอาชีพเสริมโรค
ประจำตัว ของคนในชุมชนชมทรัพย์ ได้แก่ หอบหืด ความดันโลหิตคนในชุมชนอยู่ด้วยกันประมาณ ร้อยละ
84.7 คนในชุมชนร้อยละ 45.9 ไม่ทะเลาะกันครัวเรือนในชุมชนส่วนใหญ่มีคนว่างงาน ประมาณ 2 คนมีอยู่
ประมาณ 5 ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็นร้อยละ 4.5 ของครัวเรือนทั้งหมดมีผู้ติดสุรา 1คนคิดเป็นร้อยละ 15.3
ของครัวเรือนทั้งหมดมีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คนคิดเป็นร้อยละ 29.7 ของครัวเรือนทั้งหมดร้อยละ 20.7 ของ
ครัวเรือนทั้งหมด เล่นการพนันมีผู้เล่นการพนัน 1-2 คน 19 ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 17.1 ของครัวเรือน
ทั้งหมดร้อยละ 40.5 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลร้อยละ 20.7 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อ
สลากกินแบ่งรัฐบาล ส่วนใหญ่จะซื่อประมาณ 1 คนในครอบครัวส่วนใหญ่ใช้เงินซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล
เดือนละ 300 บาทค่าใช้จ่ายด้านอาหารเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 1ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านเป็น
ค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 1 ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 2 ค่าเล่าเรียนบุตร
เป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 4 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้ความสำคัญอันดับ 5
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่ แชมพู ผงซักฟอก เครื่องใช้ไฟฟ้า มีความสำคัญอันดับ 4 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้
ส่วนตัวให้ความสำคัญอันดับ 6 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้ความสำคัญอันดับ 7 มีการออมเงิน
ร้อยละ 43.1 ของครัวเรือนทั้งหมดร้อยละ 5.4 ของครัวเรือนมีเงินออม 10000 บาทต่อครัวเรือนร้อยละ 52.3
ของครัวเรือนมีหนี้สินร้อยละ 8.1 ของครัวเรือนมีหนี้สินประมาณ 5001-10000 บาทต่อครัวเรือนร้อยละ73.9
ไม่มีการทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย
ด้านที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมของครัวเรือน คนในชุมชนส่วนใหญ่อาศัยอยู่ประมาณ 0-10 ปี
ส่วนใหญ่เป็นผู้เช่าร้อยละ 56.8 พื้นที่อาศัยอยู่ประมาณ 0-25 ตรว. อาศัยแบบบ้านเดี่ยวสองชั้นร้อยละ 28.8
ร้อยละ 55.0 เห็นว่ามีความปลอดภัยในระดับปานกลางร้อยละ 35.1 เห็นว่าถูกรบกวนจากขยะในระดับปาน
กลางร้อยละ 31.5 เห็นว่าไม่ถูกรบกวนจากน้ำเสีย ร้อยละ 34.2 เห็นว่าไม่ถูกรบกวนจากน้ำท่วมร้อยละ 39.6
เห็นว่าถูกรบกวนจากเสียงดังในระดับปานกลางร้อยละ 34.2 เห็นว่าถูกรบกวนจากจราจรติดขัดในระดับ
ปานกลางร้อยละ 32.4 มีปัญหาในระดับปานกลางไม่ระบุว่าถูกรบกวนจากสิ่งอื่นๆร้อยละ 53.2 ไม่ได้รับ
ความช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆ
      ในด้านการเข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ70.3 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมสุขภาพ ร้อยละ67.6 ระบุว่า ไม่มี
กิจกรรมเยาวชนรักกีฬา ร้อยละ 64.0 ระบุว่า ไม่มีกิจกรรมเต้นแอโรบิค ร้อยละ70.3 ระบุว่า ไม่มีกิจกรรมงด
สูบบุหรี่ ร้อยละ61.3 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมต่อต้านยาเสพติด ร้อย ละ66.7 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมป้องกัน
อุบัติเหตุ ร้อยละ 67.6 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมควบคุมเบาหวาน ร้อยละ70.3 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมควบคุมความ
ดันโลหิต ร้อยละ 51.4 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมควบคุมไข้เลือดออก ร้อยละ72.1ระบุว่าไม่มีกิจกรรมตรวจ
มะเร็งปากมดลูก ร้อยละ72.1 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมควบคุมมะเร็งเต้านม ร้อยละ 70.3 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
ฝึกอาชีพเสริมส่วนใหญ่ ร้อยละ 72.1 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว ร้อยละ 70.3 ระบุว่าไม่มี
กิจกรรมเสริมรายเด็ก ร้อยละ 64.9 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมชีวิตพอเพียง ร้อยละ 65.8 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
กลุ่มแม่บ้าน ร้อยละ 69.4 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมOTOP ร้อยละ 68.5 ระบุว่าไม่มีการทำบัญชีครัวเรือน ร้อย
ละ 64.0 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมกองทุนหมู่บ้าน ร้อยละ 68.5 ระบุว่า ไม่มีกิจกรรมกลุ่มฌาปนกิจ ร้อยละ67.6
ระบุว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์ ร้อยละ 72.1 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมกองทุนอาชีพ ร้อยละ 71.2 ระบุว่าไม่
มีกิจกรรมร้านค้าชุมชน ร้อยละ 59.5 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมออมทรัพย์อื่นๆในชุมชน ร้อยละ 65.8 ระบุว่า ไม่
มีกิจกรรมกลุ่มอนุรักษ์ศิลปะ ร้อยละ 57.7 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมทำบุญตักบาตร ร้อยละ 55.0 ระบุว่าไม่มี
กิจกรรมปีใหม่สงกรานต์ ร้อยละ 59.5 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมส่งเสริมศิลปะ ร้อยละ 57.7 ระบุว่าไม่มี
กิจกรรมศาสนพิธี ร้อยละ 57.7 ระบุว่าไม่มีพิธีอื่น ร้อยละ 66.7 ระบุว่า ไม่มีกิจกรรมป้องกันยาเสพติด ร้อย
ละ 65.8 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่มผู้สูงอายุ ร้อยละ 65.8 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมเยาวชน ร้อยละ 69.4 ระบุว่า
ไม่มีกิจกรรมป้องกันขโมย ร้อยละ 65.8 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมห่วงใยวัย70 ร้อยละ 67.6 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
ส่งเสริมสถาบันครอบครัว ร้อยละ 70.3 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส/ผู้พิการ ร้อยละ 68.5
ระบุว่าไม่มีกิจกรรมกองทุนพัฒนาชุมชน ร้อยละ 70.3 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมกองทุนผู้สูงอายุ ร้อยละ 63.1
ระบุว่าไม่มีกิจกรรมระวังคุณภาพน้ำ ร้อยละ 68.5 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมชุมชนน่าอยู่ ร้อยละ 64.9 ระบุว่าไม่มี
กิจกรรมเก็บขยะในชุมชน ร้อยละ 65.8 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ร้อยละ 66.7 ระบุว่าไม่มี
กิจกรรมขุดลอกคูคลอง ร้อยละ 63.1 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมปลูกต้นไม้ ร้อยละ 63.1 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
ซ่อมแซมสาธารณูปโภค ร้อยละ 64.9 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมทำความสะอาด ร้อยละ 57.7 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
ทิ้งขยะในถัง ร้อยละ 55.0 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมอนุรักษ์อื่นๆ ร้อยละ 55.0 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมรณรงค์การ
เลือกตั้ง ร้อยละ 64.9 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมอบรมความรู้การเมือง ส่วนใหญ่ร้อยละ 64.9 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
ทางการเมืองอื่นๆ