ชุมชนหมู่ 5 บางมด
ชุมชน หมู่ 5 บางมด แขวง บางมด เขตทุ่งครุ จังหวัด กรุงเทพมหานครฯ
1. ข้อมูลพื้นฐานของชุมชน
1.1 ประวัติและความเป็นมาของชุมชน
    ที่มาของชุมชน ชุมชนบามดอดีตเป็นชุมชนของเกษตรกรที่ทำอาชีพปลูกส้มเป็นหลัก ทุก
หลังคาเรือนปลูกส้มบางมด ตลอดเส้นทางสองฝั่งคลองโดยใช้น้ำจากคลองบางมดนี้เป็นหลัก และ
คนในชุมชนมีการตั้งบ้านเรือนบริเวณรอบๆ เส้นทางลำคลอง สลับกับสวนส้มที่ใช้เรือเป็นพาหนะ
สำคัญในการลำเลียงผลส้มออกมาจากสวน ซึ่งผู้นำชุมชนได้บรรยายถึงความเป็นมาของชุมชนใน
ช่วงเวลาที่ยังมีการปลูกส้มอยู่ได้ชัดเจนมาก คือ เกษตรกรมีวิถีชีวิตผูกติดกับการปลูกส้มบางมด ทุก
วันต้องเข้าไปดูแลความเรียบร้อยของสวนส้ม โดยการพายเรือไปริมฝั่งคลอง ใช้เวลาในการดูแล
ถอนหญ้าในสวนทั้งวัน ช่วงเย็นจึงค่อยกลับบ้าน เมื่อถึงฤดูกาลเก็บเกี่ยวผลผลิตในสวนจะเป็น
ช่วงเวลาที่ชาวบ้านต้องทำงานหนักมาก เพราะผลผลิตในสวนมีปริมาณมาก เก็บส้มได้สองครั้งต่อปี
ซึ่งเป็นที่มาของรายได้หลักในครอบครัว ประมาณปีละ 4 แสนบาท ซึ่งทำให้ชีวิตความเป็นอยู่ของ
เกษตรกรในช่วงนั้นดีมาก เกษตรกรสามารถนำเงินมาปลูกบ้าน ซื้อที่ดินเพิ่ม ส่วนคนที่ไม่มีที่ดิน
เป็นของตนเองก็เช่าที่ดินเพิ่มเพื่อปลูกส้ม

    ความสัมพันธ์ของคนในชุมชน คนในชุมชนจึงรักใคร่กลมเกลียวกันเป็นอย่างดี ให้ความ
ร่วมมือเมื่อมีกิจกรรมสำคัญเพราะส่วนใหญ่เป็นคนดั้งเดิมในชุมชน ที่เป็นเครือญาติกัน

    มีการตั้งชุมชนอย่างเป็นทางการในปี 2536 ในอดีตเป็นการปกครองระบบหมู่บ้านที่มีผู้นำ
ชุมชนคือ ผู้ใหญ่บ้าน เมื่อเปลี่ยนการปกครองมาเป็นชุมชน ผู้นำชุมชนก็เป็นผู้นำคนต่อมาก็เป็น
ลูกหลานของผู้นำคนก่อน ที่คนในชุมชนให้ความความเคารพ
การประกอบอาชีพของคนส่วนใหญ่ของชุมชนในปัจจุบัน คือ อาชีพ ค้าขาย รับจ้าง และ
ข้าราชการเป็นส่วนน้อย (หลักๆ คือ การรับจ้างทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมที่อยู่รอบนอก
ชุมชน)

    ลักษณะเด่นของชุมชน คือ ความสามัคคีของคนในชุมชน คือ คนในชุมชนส่วนใหญ่เป็น
คนดั้งเดิมในพื้นที่ทำให้รู้จักกันเป็นอย่างดี เมื่อมีกิจกรรมต่างๆ คนในชุมชนก็จะใช้ความร่วมมือ
เป็นอย่างดี และผู้นำชุมชนเข้มแข็ง เนื่องจากมีการสืบทอดตำแหน่งผู้นำมาจากผู้นำคนก่อนที่เป็น
เครือญาติกัน ชาวบ้านจึงให้ความเคารพและให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี

1.2 โครงสร้างพื้นฐานชุมชน เริ่มเข้ามาพัฒนาเมื่อปี พ.ศ. 2539 ดังนี้
    ภายหลังจากการตั้งชุมชนก็มีระบบขอโครงสร้างพื้นฐานของชุมชนเข้ามา คือ ไฟฟ้า
(ประมาณ ปี 2518) น้ำประปา(ประมาณ ปี 2530) ลานกีฬาชุมชนซึ่งเป็นที่ออกกำลังการของคนใน
ชุมชน และศูนย์สุขภาพชุมชน
    ชุมชนชมทรัพย์ประกอบด้วยคณะกรรมการชุมชนทั้งสิ้น 8 คน อสส. 2 คน

1.3 สภาพปัจจุบัน สภาพปัจจุบัน ประชากรทั้งหมด 474 คน ชาย คน หญิง คน
    ในหมู่บ้าน/ชุมชนมีครัวเรือน 450 ครอบครัว มีบ้าน 430 หลังคาเรือน (ข้อมูลจากข้อมูล
ชุมชน แขวงบางมด สำนักงานเขตทุ่งครุ)

1.4 วัฒนธรรม/ประเพณี/ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในอดีต-ปัจจุบัน
    วัฒนธรรมประเพณีของคนในชุมชน ประชากรส่วนใหญ่ในชุมชนเป็นประเพณีที่เกี่ยวข้อง
กับวันสำคัญของศาสนาอิสลาม เช่น งานวันเมาลิด ความสำคัญของวันนี้ งานอิซิกุโบร์ การถือศีล
อด ส่วนกิจกรรมที่ทำร่วมกันของคนในชุมชน คือ กิจกรรมวันเด็ก คนในชุมชนให้ความสำคัญเป็น
อย่างมาก จึงมีกิจกรรมการเล่นเกมส์เพื่อให้เด็กๆ ในชุมชนได้เข้าร่วมทุกคน และงานบุญต่างๆ เช่น
ทำบุญขึ้นบ้านใหม่ วันปีใหม่ ที่ถึงแม้ว่าคนที่นับถือศาสนาอิสลามจะไม่สามารถเข้าร่วมได้ ก็จะให้
ความร่วมมืออย่างอื่นที่สามารถทำได้

1.5 ปัญหาสำคัญในชุมชนมีดังนี้
    ปัญหาสำคัญของชุมชนคือ ปัญหาด้านมลภาวะจากโรงงานอุตสาหกรรมที่เริ่มเข้ามาตั้งใน
ชุมชน ซึ่งผู้นำชุมชนเห็นว่ายังไม่เป็นปัญหาใหญ่มากนัก เนื่องจากมีระบบการป้องกันเป็นอย่างดี
และปัญหาการถมที่เพื่อตั้งโรงงานอุตสาหกรรม ที่ทำให้ลำคลองของชุมชนหายไป

1.6 การทำงานร่วมกับหน่วยงานภายนอกชุมชน
    1) การทำงานร่วมกับสำนักงานเขตทุ่งครุ ในการดำเนินงานต่างๆของชุมชน
    2)การทำงานร่วมกับสาธารณสุข ในเรื่องสุขภาพอนามัยของคนในชุมชน
1.7 แผนที่ชุมชน

1.8 สภาพแวดล้อมของชุมชน

2. ข้อมูลแบบสัมภาษณ์ของคณะกรรมการชุมชน
ชื่อชุมชน ชุมชนหมู่ 5 บางมด
ชื่อผู้ให้สัมภาษณ์ นางสาวสุภาภรณ์ อุ่นสมบูรณ์ ตำแหน่ง/หน้าที่ ประธานชุมชน
    1. ที่ตั้งของชุมชน
    2. อาณาเขตติดต่อ
      - ทิศเหนือติดกับ หมู่บ้านจัดสรร
      - ทิศตะวันออกติดกับ
      - ทิศใต้ติดกับ ชุมชนนูรุ้ลฮุดา
      - ทิศตะวันตกติดกับ
    3. คณะกรรมการชุมชนมีบทบาทในการพัฒนาหรือการปกครองชุมชนอย่างไรบ้าง
    4. ภายในชุมชนมีสถานที่สำคัญอะไรบ้างและมีความเป็นมาอย่างไร
      4.1 มัสยิดาสอนสมบูรณ์
      4.2 โรงเรียนสอนศาสนา
      4.3 กลุ่มอาชีพ
      4.4 สถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตร
      4.5 ศูนย์สาธารณสุขชุมชน
    5. ชุมชนมีกฏระเบียบหรือข้อบังคับในการอยู่ร่วมกันภายในชุมชนอย่างไรบ้าง
    6. ชุมชนมีนโยบายหรือแผนในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง
    7. ในชุมชนมีปัญหาอะไรบ้าง
      - ปัญหาด้านสังคม
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหายาเสพติด, ปัญหาลักเล็กขโมยน้อย
      - ปัญหาด้านเศรษฐกิจ
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาหนี้นอกระบบ, ปัญหารายได้น้อย, ปัญหาการขาด
แหล่งทุนสำหรับกู้ยืมประกอบอาชีพ
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาขาดตลาดสำหรับขายผลิตภัณฑ์, ปัญหาการ
รวมกลุ่มอาชีพ
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง -
      - ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาผิวจราจรแตกชำรุดหรือเป็นหลุมเป็นบ่อ, ปัญหา
จราจรที่หนาแน่นและการเดินทางที่ไม่สะดวกสบาย
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการสื่อสารและโทรคมนาคม
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง -
      - ปัญหาด้านสารธารณสุข
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ เช่น ความดันโลหิต เบาหวาน
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง การแพร่ระบาดของโรคที่มีสัตว์นำโรคเป็นพาหะ, ขาด
แคลนสภานที่ออกกำลังกาย
     - ปัญหาด้านการศึกษา
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการขาดโอกาสในการศึกษา
     - ปัญหาด้านศาสนา
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง -
      - ปัญหาด้านประเพณีและวัฒนธรรม
        ชุมชนหมู่ 5 บางมด ไม่มีปัญหาทางด้านประเพณีและวัฒนธรรม
      - ปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาน้ำเน่าเสีย, ปัญหาด้านการขาดการฟื้นฟูรักษา
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาขยะมูลฝอย
      - ปัญหาด้านการเมืองการบริหาร
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง บุคคลากรทางการเมืองในท้องถิ่นขาดความรู้ความ
เข้าใจในบทบาทหน้าที่, การขาดแคลนวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานที่เพียงพอและมีประสิทธิภาพ
น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง การให้บริการข้อมูลข่าวสารและการเผยแพร่
ประชาสัมพันธ์ ยังไม่ทั่วถึง
    8. จงเรียงลำดับความสำคัญของปัญหาที่ชุมชนต้องแก้ไขเร่งด่วนมากที่สุด เพราะอะไร
      8.1 ถนน
      8.2 เครื่องดับเพลิง
    9. ในชุมชนมีกลุ่มกิจกรรมอะไรบ้างที่ทางราชการและเอกชนเข้ามาส่งเสริม
      - ด้านสุขภาพ
        มี กิจกรรมอะไรบ้าง กิจกรรมส่งเสริมเยาวชนรักกีฬา, กิจกรรมรณรงค์ต่อต้านการ
เผยแพร่ระบาดของยาเสพติดในชุมชน, กิจกรรมรณรงค์ควบคุมป้องกันควบคุมโรคเบาหวาน,
กิจกรรมรณรงค์ป้องกัน ควบคุมโรคความดันโลหิต, กิจกรรมรณรงค์ควบคุม ป้องกันโรค
ไข้เลือดออก, กิจกรรมการตรวจมะเร็งปากมดลูก, กิจกรรมตรวจมะเร็งเต้านม
      - ด้านอาชีพ
        มี กิจกรรมอะไรบ้าง การฝึกอบรมอาชีพเสริม, การส่งเสริมการท่องเที่ยว,
กิจกรรมชีวิตพอเพียงตามแนวพระราชดำริ, จัดตั้งกลุ่มแม่บ้าน
      - ด้านการออมทรัพย์
        มี กิจกรรมอะไรบ้าง กลุ่มฌาปนกิจ
      - ด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
        มี กิจกรรมอะไรบ้าง กิจกรรมวันปีใหม่และวันสงกรานต์, ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับศาสน
พิธีและวันสำคัญทางศาสนา
      - ด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม
        มี กิจกรรมอะไรบ้าง การป้องกันยาเสพติด, การรวมกลุ่มกิจกรรมของผู้สูงอายุ,
กิจกรรมเพื่อเยาวชน, การเลี้ยงดูผู้พิการ
      - ด้านการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อม
        มี กิจกรรม เฝ้าระวังคุณภาพน้ำ, การอบรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม, ปลูกต้นไม้ให้
สวนงาม, รณรงค์ให้ทิ้งขยะในถังขยะจัดที่ใส่ขยะให้เป็นระเบียบ
      - ด้านการเมืองการปกครอง
        มี กิจกรรมอะไรบ้าง รณรงค์ให้ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งทุก ๆ ครั้งที่มีการเลือกตั้ง,
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเมือง
    10. ชุมชนมีโครงการในการพัฒนาชุมชนอะไรบ้างและแต่ละโครงการมีกิจกรรมอย่างไร
      10.1 โครงการสายใยรักผู้สูงอายุ
    11. คนดีและเก่งที่เป็นกำลังสำคัญในชุมชน
      - ด้านการทำอาหาร
        ขนมไทย คุณสุภาภรณ์ อุ่นสมบูรณ์
        การทำอาหารคาวหวาน -
      - ด้านการช่าง
        ช่างไม้ อามิน เดชธีระธนา
        ช่างเชื่อม ซาและ, อุไร, สุไรมาน
        ช่างซ่อมเครื่องใช้จำพวกอิเลคโทรนิค เสรี
        ช่างซ่อมรถ สุไรมาน
        ช่างไฟ สุรัตน์ กรรมการชุมชน
      - ด้านการเกษตร
        ปลูกผัก คนในชุมชนส่วนมาก
        จับสัตว์น้ำ สุชาดา, สุชาติ
      - ด้านศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม (ทุกศาสนาที่มีอยู่ในชุมชน)
        ผู้นำการในการทำศาสนพิธีของศาสนา อิหม่าม
      - ด้านการแพทย์แผนไทย
      - ด้านการประดิษฐ์
      - ด้านอื่น ๆ
    12. ในชุมชนมีจุดอ่อนจุดแข็งอะไรบ้าง
      จุดแข็ง - รวมตัวด้านศาสนา
      จุดอ่อน - การรวมชุมชนทำยากในวันธรรมดา
                - สวนหมดไป คนทำงานนอกบ้าน
    13. รายชื่อคณะกรรมการหมู่บ้าน
      1. สุภาภรณ์ อุ่นสมบูรณ์ ตำแหน่ง ประธาน
      2. รัชภูมิ ไหลมา ตำแหน่ง รองประธาน
      3. อามิน เดชธีระธนา ตำแหน่ง เลขา
      4. สุรัตน์ บินกาซัน ตำแหน่ง ประชาสัมพันธ์
      5. สมศักดิ์ ภิษาจุรี ตำแหน่ง กรรมการ
      6. อดิสร เอยบำรุง ตำแหน่ง กรรมการ
      7. ทองสุข ดอนบปัญญาภัย ตำแหน่ง เหรัญญิก
    14. รายชื่อพัฒนาชุมชน (อช.)
    15. รายชื่ออาสาสาธารณประจำชุมชน (อส.ม)
    16. ในชุมชนมีสิ่งที่ทำให้สมาชิกในชุมชนมีความภาคภูมิใจอะไรบ้างเพราะอะไร
        ณ ในชุมชนไม่ออกนอกลู่นอกทาง เพราะศาสนา
    17. ชุมชนมีความต้องการหรือความคาดหวังในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง
        - ไม่ให้มียาเสพติด
        - ปรับปรุงถนน, ท่อระบายน้ำ

3. ข้อมูลแบบสอบถามของชุมชน
3.1. ส่วนที่ 1 ข้อมูลด้านประชากรของสมาชิก
ในครัวเรือน
3.1.1 ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนของชุมชน
ประกอบด้วย ข้อมูลรวมของสมาชิกในครัวเรือน
ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเพศชาย และ
ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเพศหญิง
ตาราง 1 แสดงร้อยละของครัวเรื่องที่มีสมาชิก 1-
9 คน

ครัวเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนนี้มีสมาชิก
ประมาณ 4 คนต่อครัวเรื่อน
3.1.2 ข้อมูลส่วนบุคคลของสมาชิกในครัวเรือน
ทั้งหมด
ตาราง 2 ร้อยละของเพศชายและเพศหญิง

ชุมชนหมู่ 5 บางมด ประชากรประกอบด้วยเพศ
ชาย ร้อยละ 51.9 เพศหญิงร้อยละ 48.1
ตาราง 3 ร้อยละของอายุประชากรในชุมชน

ชุมชนหมู่ 5 บางมดประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่
ในช่วง 21-30 ปี คิดเป็นร้อยละ 18.5 มีประชากร
ที่อยู่ในวัยชรา คิดเป็นร้อยละ 9.6 ของประชากร
ทั้งหมด
ตาราง 4 ระดับการศึกษา

ชุมชนหมู่ 5 บางมดประชากรส่วนใหญ่มี
การศึกษาในระดับประถมศึกษาคิดเป็นร้อยละ
37.5
ตาราง 5 การนับถือศาสนา

ชุมชนหมู่ 5 บางมดประชากรส่วนใหญ่นับถือ
ศาสนาพุทธ คิดเป็นร้อยละ 54.6 และศาสนา
อิสลาม ร้อยละ 43.7
ตาราง 6 รายได้ของคนในชุมชน

ชุมชนหมู่ 5 บางมดประชากรส่วนใหญ่มีรายได้
อยู่ในช่วง 0-5000 บาท คิดเป็นร้อยละ 67.9
ตาราง 7 รายจ่ายของคนในชุมชน

ชุมชนหมู่ 5 บางมดประชากรส่วนใหญ่มีรายจ่าย
อยู่ในช่วง 0-5000 บาท คิดเป็นร้อยละ 85.7
ตาราง 8 อาชีพหลัก ของคนในชุมชน

ชุมชนหมู่ 5 บางมดประชากรส่วนใหญ่ซึ่ง
ประกอบอาชีพรับจ้างคิดเป็นร้อยละ 37.2

คนในชุมชนส่วนใหญ่ร้อยละ 100ไม่มีอาชีพ
เสริม
ตาราง 10 โรคประจำตัวของคนในชุมชน

โรคประจำตัว ของคนในชุมชนหมู่ 5 บางมด
ได้แก่ หอบหืด ความดันโลหิต เบาหวาน ภูมิแพ้
หัวใจ ไต มะเร็ง อื่น ๆ
3.1.3 สถานะภาพครอบครัวในชุมชน
ตารางที่ 11 สถานะภาพครอบครัวในชุมชน

คนในชุมชนส่วนใหญ่อยู่ด้วยกัน คิดเป็นร้อยละ
80
3.1.4 ข้อมูลความขัดแย้งหรือการทะเลาะกันใน
ครัวเรือน (ตารางที่ 12)

คนในชุมชนหมู่ 5 บางมด ทะเลาะกันอาทิตย์ละ
1-2 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 20
3.1.5 จำนวนข้อมูลผู้ว่างงานในครัวเรือน
(ตารางที่ 13)

ในครัวเรือนในชุมชนส่วนใหญ่คนมีงานทำคิด
เป็นร้อยละ 26.7 และคนว่างงานส่วนใหญ่ 2 คน
ต่อครัวเรือนคิดเป็นร้อยละ 15
3.1.6 ข้อมูลจำนวนผู้พิการในครัวเรือน
(ตารางที่ 14)

มีอยู่ประมาณ 5 ครัวเรือนที่มีผู้พิการ 1 คนคิด
เป็นร้อยละ 3.2 และ 1 ครัวเรือนที่มีผู้พิการ 2 คน
คิดเป็นร้อยละ 1.7 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.7 ข้อมูลจำนวนผู้ติดสุราในครัวเรือน
(ตารางที่ 15)

มีผู้ติดสุรา 1 คน 2 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 3.3
ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.8 ข้อมูลจำนวนผู้ติดบุหรี่ในครัวเรือน
(ตารางที่ 16)

มีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คน 11 ครัวเรือน คิดเป็น
ร้อยละ 18.3 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.9 ข้อมูลการเล่นการพนันในครัวเรือน
ประกอบด้วย การเล่นการพนันของสมาชิกใน
ครัวเรือน และข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือน
ที่เล่นการพนัน
ข้อมูลการเล่นพนันของสมาชิกในครัวเรือน
(ตารางที่ 17)

มีเล่นการพนันคิดเป็นร้อยละ 6.7 ของครัวเรือน
ทั้งหมด
ข้อมูลจำนวนสมาชิกที่เล่นการพนันในครัวเรือน
(ตารางที่ 18)

มีผู้เล่นการพนัน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 6.7 ของ
ครัวเรือนทั้งหมด
3.1.10 ข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของ
สมาชิกในครัวเรือน ประกอบด้วย ข้อมูลการซื้อ
สลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกในครัวเรือน
ข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล และข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลาก
กินแบ่งรัฐบาล
ข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกใน
ครัวเรือน (ตารางที่ 19)

มีผู้ซื้อกลากกินแบ่งคิดเป็นร้อยละ 13.3 ของ
ครัวเรือนทั้งหมด
ข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล (ตารางที่ 20)

(ตารางที่ 19-20) ร้อยละ 8.3 ของครัวเรือน
ทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล ส่วนใหญ่จะซื้อ
ประมาณ 1 คนในครัวเรือน
ข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล
(ตารางที่ 21)

ส่วนใหญ่ใช้เงินซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลเดือนละ
400 บาท
3.1.11 ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายของ
ครัวเรือน ประกอบด้วย ค่าอาหาร ค่าเช่าบ้าน
หรือผ่านบ้าน ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ค่า
การศึกษาบุตร ค่าเดินทาง ค่าเครื่องใช้ใน
ครัวเรือน ค่าเครื่องใช้ส่วนตัว และค่า
รักษาพยาบาล
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าอาหารของครัวเรือน (ตารางที่ 22)

ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 1
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านของครัวเรือน
(ตารางที่ 23)

ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 0
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
น้ำ ค่าไฟ และค่าโทรศัพท์ของครัวเรือน
(ตารางที่ 24)

ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ
อันดับ 2
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
การศึกษาของบุตร (ตารางที่ 25)

ค่าเล่าเรียนบุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ
อันดับ 7
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เดินทาง (ตารางที่ 26)

ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้
ความสำคัญอันดับ 3
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
ของใช้ในครัวเรือน (เช่น สบู่ แชมพู ผงซักฟอก
เครื่องใช้ไฟฟ้า ฯลฯ) (ตารางที่ 27)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่ แชมพู ผงซักฟอก
เครื่องใช้ไฟฟ้า มีความสำคัญอันดับ 4
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เครื่องใช้ส่วนตัว (เช่น เสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้า
ฯลฯ)(ตารางที่ 28)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัวให้
ความสำคัญอันดับ 5
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
รักษาพยาบาล (ตารางที่ 29)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้
ความสำคัญอันดับ 6
3.1.12 ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน
ประกอบด้วย ข้อมูลการออมเงิน และข้อมูล
จำนวนเงินออม
ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน (ตารางที่ 30)

มีการออมเงินร้อยละ 3.3 ของครัวเรือนทั้งหมด
ข้อมูลจำนวนเงินออมในครัวเรือน (ตารางที่ 34)

ร้อยละ 78.3 ของครัวเรือนไม่มีเงินออม
3.1.13 ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน
ประกอบด้วย ข้อมูลการมีหนี้สิน และข้อมูล
จำนวนหนี้สิน
ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน (ตารางที่ 32)

ร้อยละ 21.7 ของครัวเรือนมีหนี้สิน
ข้อมูลจำนวนหนี้สินในครัวเรือน (ตารางที่ 36)

ร้อยละ 51.7 ของครัวเรือนไม่มีหนี้สิน
3.1.14 ข้อมูลการทำรายรับ – รายจ่าย
(ตารางที่ 34)

ร้อยละ 73.3 ตอบว่าไม่มีการทำบัญชีครัวเรือน
และร้อยละ 26.7 ไม่ตอบ
3.2. ส่วนที่ 2 ข้อมูลด้านที่อยู่อาศัย
3.2.1 ภูมิลำเนาเดิม
ต่างจังหวัดได้แก่
1. กำแพงเพชร จำนวน 2 ครัวเรือน
2. อยุธยา จำนวน 1 ครัวเรือน
3. สระบุรี จำนวน 1 ครัวเรือน
4. แพร่ จำนวน 1 ครัวเรือน
กรุงเทพฯและปริมณฑลได้แก่
1. บางขุนเทียน จำนวน 2 ครัวเรือน
2. ดาวคนอง จำนวน 2 ครัวเรือน
3. วัดพุทธบูชา จำนวน 1 ครัวเรือน
4. จอมทอง จำนวน 1 ครัวเรือน

5. บางคอแหลม จำนวน 1 ครัวเรือน
6. ยานนาวา จำนวน 1 ครัวเรือน
7. เจริญนคร จำนวน 1 ครัวเรือน
8. สุขสวัสดิ์ จำนวน 1 ครัวเรือน
9. ปราจีนบุรี จำนวน 1 ครัวเรือน
3.2.2 ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในชุมชน
(ตารางที่ 35)

อาศัยอยู่ในชุมชนในช่วง 1-56 ปี ส่วนใหญ่
อาศัยอยู่ประมาณ 5 ปี
3.2.3 การครอบครองที่อยู่อาศัย ประกอบด้วย
ข้อมูลการครอบครองที่อยู่อาศัย และข้อมูลด้าน
จำนวนพื้นที่อยู่อาศัย
การครอบครองที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 36)

ที่พักอาศัยส่วนใหญ่เป็นเจ้าของร้อยละ 66.7
จำนวนพื้นที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 37)

ส่วนใหญ่มีพื้นที่อยู่อาศัยประมาณ 25 ตรม
3.2.4 ลักษณะของที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 38)

ส่วนใหญ่ที่อยู่อาศัยเป็นแบบบ้านเดี่ยวสองชั้น
ร้อยละ 56.7
3.2.5 บริเวณที่อยู่อาศัยของท่านมีความปลอดภัย
ในชีวิตและทรัพย์สินหรือไม่ (ตารางที่ 39)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 78.3 เห็นว่ามีความปลอดภัยใน
ระดับปานกลาง
3.2.6 ครัวเรือนของท่านถูกรบกวนจากภาวะต่าง
ๆ หรือไม่
ถูกรบกวนจากขยะ (ตารางที่ 40)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 48.3 เห็นว่าถูกรบกวนจากขยะ
ในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากน้ำเน่าเสีย (ตารางที่ 44)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 36.7 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำ
เน่าเสียในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากน้ำท่วม (ตารางที่ 42)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 31.7 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำ
ท่วมในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากเสียงดัง (ตารางที่ 43)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 51.7 เห็นว่าถูกรบกวนจาก
เสียงดังในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากการจราจรติดขัด (ตารางที่ 44)

ร้อยละ 21.7 เห็นว่าถูกรบกวนจากจราจรติดขัดะ
ในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากฝุ่นควันและก๊าซพิษ (ตารางที่ 45)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 26.7 เห็นว่าถูกรบกวนจากฝุ่น
ควันและก๊าซพิษในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากด้านอื่น ๆ (ตารางที่ 46)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ไม่ตอบว่าถูกรบกวนจาก
สิ่งอื่นๆ
3.2.7 ในรอบปีที่ผานมาครัวเรือนของท่านได้รับ
การช่วยเหลือหรือการสนับสนุน ด้านใดบ้างและ
จากหน่วยงานใด (เช่น) ค่าเล่าเรียนบุตร การ
ส่งเสริมอาชีพ การพ่นหมอกควันกำจัดยุง)
การได้รับการช่วยเหลือ (ตารางที่ 47)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 35 ไม่ได้รับความช่วยเหลือ
จากหน่วยงานต่างๆ
สิ่งที่ได้รับการสนับสนุน
1.ด้านอาชีพ จำนวน 9 ราย
2. สวัสดิการผู้พิการ จำนวน 1 ราย
3. สวัสดิการข้าราชการ จำนวน 1 ราย
4. กลุ่มแม่บ้าน จำนวน 1 ราย
5. การศึกษา จำนวน 2 ราย
6. ค่าเล่าเรียน จำนวน 2 ราย
ความต้องการการสนับสนุน
1. สร้างตลาดให้แก่ชุมชนจำนวน 1 ราย
2. สวัสดิการผู้สูงอายุ จำนวน 1 ราย
3. สวัสดิการชุมชน จำนวน 1 ราย
4. กิจกรรมต่าง ๆ จำนวน 1 ราย
5. ถนนในซอย จำนวน 1 ราย
3.3 ส่วนที่ 3 ข้อมูลด้านการเป็นสมาชิกกลุ่มหรือ
การร่วมทำกิจกรรมที่ได้รับการส่งเสริม
3.3.1 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านสุขภาพ
กิจกรรมออกกำลังกายผู้สูงอายุ (ตารางที่ 48)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 96.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมสุขภาพ
เยาวชนรักกีฬา (ตารางที่ 49)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 81.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมเยาวชนรักกีฬา
เต้นแอโรบิค (ตารางที่ 50)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 95 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
เต้น
แอโรบิค
งดสูบบุหรี่ (ตารางที่ 51)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 95 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
งดสูบบุหรี่
ต่อต้านยาเสพติด (ตารางที่ 52)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 58.3 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมต่อต้านยาเสพติด
ป้องกันอุบัติเหตุ (ตารางที่ 53)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 91.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมป้องกันอุบัติเหตุ
ควบคุมเบาหวาน (ตารางที่ 54)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 75 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
ควบคุมเบาหวาน
ควบคุมความดันโลหิต (ตารางที่ 55)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมควบคุมความดันโลหิต
ควบคุมไข้เลือดออก (ตารางที่ 56)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 63.3 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมควบคุมไข้เลือดออก
ตรวจมะเร็งปากมดลูก (ตารางที่ 57)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 66.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมตรวจมะเร็งปากมดลูก
ตรวจมะเร็งเต้านม (ตารางที่ 58)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 81.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมควบคุมมะเร็งเต้านม
3.3.2 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านอาชีพ
ฝึกอาชีพเสริม (ตารางที่ 59)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 78.3 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมฝึกอาชีพเสริม
ส่งเสริมการท่องเที่ยว (ตารางที่ 60)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว
ส่งเสริมรายได้เด็ก (ตารางที่ 61)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมเสริมรายได้เด็ก
กิจกรรมชีวิตพอเพียง (ตารางที่ 62)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมชีวิตพอเพียง
กลุ่มแม่บ้าน (ตารางที่ 63)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 81.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกลุ่มแม่บ้าน
OTOP (ตารางที่ 64)

 

ส่วนใหญ่ร้อยละ 83.3 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรม OTOP
3.3.3 ข้อมูลการออมทรัพย์
การทำบัญชีครัวเรือน (ตารางที่ 65)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 95 ไม่ระบุการเข้าร่วมทำบัญชี
ครัวเรือน
กองทุนหมู่บ้าน (ตารางที่ 66)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 95 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
กองทุนหมู่บ้าน
กลุ่มณาปนกิจ (ตารางที่ 67)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 76.7ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกลุ่มณาปนกิจ
กลุ่มออมทรัพย์ (ตารางที่ 68)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
กลุ่มออมทรัพย์
กองทุนอาชีพ (ตารางที่ 69)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกองทุนอาชีพ
ร้านค้าชุมชน (ตารางที่ 70)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมร้านค้าชุมชน
ออมทรัพย์อื่นๆ (ตารางที่ 71)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมออมทรัพย์อื่นๆ
3.3.4 ข้อมูลด้านการศาสนาและ
ศิลปะวัฒนธรรม
อนุรักษ์ศิลปะ (ตารางที่ 72)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 78.3 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกลุ่มอนุรักษ์ศิลปะ
การทำบุญตักบาตร (ตารางที่ 73)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 78.3 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์
วันปีใหม่สงกรานต์ (ตารางที่ 74)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 78.3 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมปีใหม่สงกรานต์
การส่งเสริมศิลปะ (ตารางที่ 75)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 76.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมส่งเสริมศิลปะ
ศาสนพิธี (ตารางที่ 76)

ร้อยละ 45 เข้าร่วมกิจกรรมศาสนพิธี
พิธีอื่นๆ (ตารางที่ 77)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมพิธีอื่น ๆ
3.3.5 ข้อมูลด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม
ป้องกันยาเสพติด (ตารางที่ 78)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 78.3 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมป้องกันอยาเสพติด
กลุ่มผู้สูงอายุ (ตารางที่ 79)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 81.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกลุ่มผู้สูงอายุ
กิจกรรมเยาวชน (ตารางที่ 80)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 91.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมเยาวชน
ป้องกันขโมย (ตารางที่ 81)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมป้องกันขโมย
กิจกรรมห่วงใยวัย70 (ตารางที่ 82)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 83.3 ไม่รุบุการเข้าร่วมกิจกรรม
ห่วงใยวัย70
ส่งเสริมสถาบันครอบครัว (ตารางที่ 83)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 83.3 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมส่งเสริมสถาบันครอบครัว
กิจกรรมสงเคราะห็ผู้ด้อยโอกาส(ตารางที่ 84)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 96.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมส่งเคระห์ผู้ด้อยโอกาส/ผู้พิการ
เลี้ยงดูผู้พิการ (ตารางที่ 85)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 78.3 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมเลี้ยงดูผู้พิการ
กองทุนพัฒนาชุมชน (ตารางที่ 86)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.3 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกองทุนพัฒนาชุมชน
กองทุนผู้สูงอายุ (ตารางที่ 87)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68.3 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกองทุนผู้สูงอายุ
24
3.3.6 ข้อมูลด้านการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อม
ระวังคุณภาพน้ำ (ตารางที่ 87)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 96.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมเฝ้าระวังคุณภาพน้ำ
ชุมชนน่าอยู่ (ตารางที่ 88)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมชุมชนน่าอยู่
เก็บขยะในชุมชน (ตารางที่ 89)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.3 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมเก็บขยะในชุมชน
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (ตารางที่ 90)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 81.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ขุดลอกคูคลอง (ตารางที่ 91)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 81.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมขุดลอกคูคลอง
ปลูกต้นไม้ (ตารางที่ 92)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 95 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
ปลูกต้นไม้
ซ่อมแซมสาธารณูปโภค (ตารางที่ 93)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 96.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมซ่อมแซมสาธารณูปโภค
ทำความสะอาด (ตารางที่ 94)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมทำความสะอาด
ทิ้งขยะในถัง (ตารางที่ 95)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 70 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
ทิ้งขยะในถัง
3.3.7 ข้อมูลด้านการเมืองการปกครอง
รณรงค์เลือกตั้ง (ตารางที่ 97)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 96.8 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
รณรงค์เลือกตั้ง
อบรมความรู้การเมือง (ตารางที่ 98)

 

 

สรุปข้อมูลจากการสำรวจโดยแบบสอบถามระหว่างวันที่ …..................
      สำรวจโดยใช้แบบสอบถามจากครัวเรือนทั้งหมด 60 ครัวเรือนคิดเป็น 60 เปอร์เซนต์ของ
ครัวเรือนทั้งหมดในชุมชน ครัวเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนนี้มีสมาชิกประมาณ 4 คนต่อครัวเรือน
ชุมชนหมู่ 5 บางมด ประชากรประกอบด้วยเพศชาย ร้อยละ 51.9 เพศหญิงร้อยละ 48.1 ชุมชนหมู่ 5
บางมด ประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง 21-30 ปี คิดเป็นร้อยละ 18.5 มีประชากรที่อยู่ในวัยชรา คิด
เป็นร้อยละ 9.6 ของประชากรทั้งหมด ชุมชนหมู่ 5 บางมดประชากรส่วนใหญ่มีการศึกษาในระดับ
ประถมศึกษาคิดเป็นร้อยละ 37.5 ชุมชนหมู่ 5 บางมดประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ คิดเป็น
ร้อยละ 54.6 และศาสนาอิสลาม ร้อยละ 43.7 ชุมชนหมู่ 5 บางมดประชากรส่วนใหญ่มีรายได้อยู่
ในช่วง 0-5000 บาท คิดเป็นร้อยละ 67.9 ชุมชนหมู่ 5 บางมดประชากรส่วนใหญ่มีรายจ่ายอยู่ในช่วง
0-5000 บาท คิดเป็นร้อยละ 85.7 ชุมชนหมู่ 5 บางมดประชากรส่วนใหญ่ซึ่งประกอบอาชีพรับจ้างคิด
เป็นร้อยละ 37.2 คนในชุมชนส่วนใหญ่ร้อยละ 100ไม่มีอาชีพเสริม โรคประจำตัว ของคนในชุมชน
หมู่ 5 บางมด ได้แก่ หอบหืด ความดันโลหิต เบาหวาน ภูมิแพ้ หัวใจ ไต มะเร็ง อื่น ๆ คนในชุมชนส่วน
ใหญ่อยู่ด้วยกัน คิดเป็นร้อยละ 80 คนในชุมชนหมู่ 5 บางมด ทะเลาะกันอาทิตย์ละ1-2 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ
20 ในครัวเรือนในชุมชนส่วนใหญ่คนมีงานทำคิดเป็นร้อยละ 26.7 และคนว่างงานส่วนใหญ่ 2 คนต่อ
ครัวเรือนคิดเป็นร้อยละ 15 มีอยู่ประมาณ 5 ครัวเรือนที่มีผู้พิการ 1 คนคิดเป็นร้อยละ 3.2 และ 1
ครัวเรือนที่มีผู้พิการ 2 คนคิดเป็นร้อยละ 1.7 ของครัวเรือนทั้งหมด มีผู้ติดสุรา 1 คน 2 ครัวเรือน คิดเป็น
ร้อยละ 3.3 ของครัวเรือนทั้งหมด มีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คน 11 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 18.3 ของ
ครัวเรือนทั้งหมด มีเล่นการพนันคิดเป็นร้อยละ 6.7 ของครัวเรือนทั้งหมด มีผู้เล่นการพนัน 1 คน คิด
เป็นร้อยละ 6.7 ของครัวเรือนทั้งหมด มีผู้ซื้อกลากกินแบ่งคิดเป็นร้อยละ 13.3 ของครัวเรือนทั้งหมด
ร้อยละ 8.3 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล ส่วนใหญ่จะซื้อประมาณ 1 คนในครัวเรือน
ส่วนใหญ่ใช้เงินซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลเดือนละ 400 บาท ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 1 ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 0 ค่าสาธารณูปโภค
เป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 2 ค่าเล่าเรียนบุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 7 ค่าใช้จ่ายใน
การเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้ความสำคัญอันดับ 3 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่ แชมพู ผงซักฟอก
เครื่องใช้ไฟฟ้า มีความสำคัญอันดับ 4 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัวให้ความสำคัญอันดับ 5
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้ความสำคัญอันดับ 6 มีการออมเงินร้อยละ 3.3 ของครัวเรือน
ทั้งหมด ร้อยละ 78.3 ของครัวเรือนไม่มีเงินออม ร้อยละ 21.7 ของครัวเรือนมีหนี้สิน ร้อยละ 51.7 ของ
ครัวเรือนไม่มีหนี้สิน ร้อยละ 73.3 ตอบว่าไม่มีการทำบัญชีครัวเรือน และร้อยละ 26.7 ไม่ตอบ ภูมิลำเนา
เดิม ต่างจังหวัดได้แก่ 1. กำแพงเพชร 2. อยุธยา 3. สระบุรี 4. แพร่ กรุงเทพฯและปริมณฑลได้แก่
1. บางขุนเทียน 2. ดาวคนอง 3. วัดพุทธบูชา 4. จอมทอง 5. บางคอแหลม 6. ยานนาวา 7. เจริญนคร
8. สุขสวัสดิ์ 9. ปราจีนบุรี

      อาศัยอยู่ในชุมชนในช่วง 1-56 ปี ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ประมาณ 5 ปี ที่พักอาศัยส่วนใหญ่เป็น
เจ้าของร้อยละ 66.7 ส่วนใหญ่มีพื้นที่อยู่อาศัยประมาณ 25 ตรม. ส่วนใหญ่ที่อยู่อาศัยเป็นแบบบ้านเดี่ยว
สองชั้นร้อยละ 56.7 ส่วนใหญ่ร้อยละ 78.3 เห็นว่ามีความปลอดภัยในระดับปานกลาง ส่วนใหญ่ร้อยละ
48.3 เห็นว่าถูกรบกวนจากขยะในระดับปานกลาง ส่วนใหญ่ร้อยละ 36.7 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำเน่าเสีย
ในระดับปานกลาง ส่วนใหญ่ร้อยละ 31.7 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำท่วมในระดับปานกลาง ส่วนใหญ่
ร้อยละ 51.7 เห็นว่าถูกรบกวนจากเสียงดังในระดับปานกลาง ร้อยละ 21.7 เห็นว่าถูกรบกวนจากจราจร
ติดขัดะในระดับน้อย ส่วนใหญ่ร้อยละ 26.7 เห็นว่าถูกรบกวนจากฝุ่นควันและก๊าซพิษในระดับน้อย
ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ไม่ตอบว่าถูกรบกวนจากสิ่งอื่นๆ ส่วนใหญ่ร้อยละ 35 ไม่ได้รับความช่วยเหลือจาก
หน่วยงานต่างๆ สิ่งที่ได้รับการสนับสนุน 1.ด้านอาชีพ 2. สวัสดิการผู้พิการ 3. สวัสดิการข้าราชการ 4.
กลุ่มแม่บ้าน 5. การศึกษา 6. ค่าเล่าเรียน ความต้องการการสนับสนุน 1. สร้างตลาดให้แก่ชุมชน 2.
สวัสดิการผู้สูงอายุ 3. สวัสดิการชุมชน 4. กิจกรรมต่าง ๆ 5. ถนนในซอย

      ในด้านการเข้าร่วมกิจกรรมส่วนใหญ่ร้อยละ 96.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมสุขภาพ ส่วนใหญ่
ร้อยละ 81.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมเยาวชนรักกีฬา ส่วนใหญ่ร้อยละ 95 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
เต้นแอโรบิค ส่วนใหญ่ร้อยละ 95 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมงดสูบบุหรี่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 58.3 ไม่ระบุ
การเข้าร่วมกิจกรรมต่อต้านยาเสพติด ส่วนใหญ่ร้อยละ 91.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมป้องกันอุบัติเหตุ
ส่วนใหญ่ร้อยละ 75 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมควบคุมเบาหวาน ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.7 ไม่ระบุการเข้า
ร่วมกิจกรรมควบคุมความดันโลหิต ส่วนใหญ่ร้อยละ 63.3 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมควบคุม
ไข้เลือดออก ส่วนใหญ่ร้อยละ 66.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมตรวจมะเร็งปากมดลูก ส่วนใหญ่ร้อยละ
81.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมควบคุมมะเร็งเต้านม ส่วนใหญ่ร้อยละ 78.3 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
ฝึกอาชีพเสริม ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว ส่วนใหญ่ร้อยละ
98.3 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมรายได้เด็ก ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมชีวิต
พอเพียง ส่วนใหญ่ร้อยละ 81.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มแม่บ้าน ส่วนใหญ่ร้อยละ 83.3 ไม่ระบุ
การเข้าร่วมกิจกรรม OTOP ส่วนใหญ่ร้อยละ 95 ไม่ระบุการเข้าร่วมทำบัญชีครัวเรือน ส่วนใหญ่ร้อยละ
95 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกองทุนหมู่บ้าน ส่วนใหญ่ร้อยละ 76.7ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
ฌาปนกิจ ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์ ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่
ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกองทุนอาชีพ ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมร้านค้าชุมชน
ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมออมทรัพย์อื่นๆ ส่วนใหญ่ร้อยละ 78.3 ไม่ระบุการเข้า
ร่วมกิจกรรมกลุ่มอนุรักษ์ศิลปะ ส่วนใหญ่ร้อยละ 78.3 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์ ส่วน
ใหญ่ร้อยละ 78.3 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมปีใหม่สงกรานต์ ส่วนใหญ่ร้อยละ 76.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมส่งเสริมศิลปะ ร้อยละ 45 เข้าร่วมกิจกรรมศาสนพิธี ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมพิธีอื่น ๆ ส่วนใหญ่ร้อยละ 78.3 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมป้องกันอยาเสพติด ส่วนใหญ่
ร้อยละ 81.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่ร้อยละ 91.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
เยาวชน ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมป้องกันขโมย ส่วนใหญ่ร้อยละ 83.3 ไม่รุบุ
การเข้าร่วมกิจกรรมห่วงใยวัย70 ส่วนใหญ่ร้อยละ 83.3 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมสถาบัน
ครอบครัว ส่วนใหญ่ร้อยละ 96.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมส่งเคระห์ผู้ด้อยโอกาส/ผู้พิการ ส่วนใหญ่
ร้อยละ 78.3 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมเลี้ยงดูผู้พิการ ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.3 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกองทุนพัฒนาชุมชน ส่วนใหญ่ร้อยละ 68.3 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกองทุนผู้สูงอายุ ส่วน
ใหญ่ร้อยละ 96.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมเฝ้าระวังคุณภาพน้ำ ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ระบุการเข้า
ร่วมกิจกรรมชุมชนน่าอยู่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.3 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมเก็บขยะในชุมชน ส่วนใหญ่
ร้อยละ 81.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ส่วนใหญ่ร้อยละ 81.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมขุดลอกคูคลอง ส่วนใหญ่ร้อยละ 95 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้ ส่วนใหญ่ร้อยละ
96.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมซ่อมแซมสาธารณูปโภค ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมทำความสะอาด ส่วนใหญ่ร้อยละ 70 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมทิ้งขยะในถัง ส่วนใหญ่ร้อยละ
96.8 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์เลือกตั้ง ส่วนใหญ่ร้อยละ 96.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมอบรม
ความรู้การเมือง