ชุมชนร่วมใจพัฒนา
ชุมชน ร่วมใจพัฒนา แขวง บางมด เขตทุ่งครุ จังหวัด กรุงเทพมหานครฯ
1. ข้อมูลพื้นฐานของชุมชน
1.1 ประวัติและความเป็นมาของชุมชน
    ชุมชนร่วมใจพัฒนาเดิมที่พื้นที่มีสภาพเป็นท้องทุ่งสำหรับทำนาปลูกข้าวชาวบ้านในอดีต
ส่วนใหญ่มีอยู่ 30-40 ครัวเรือนโดยได้อยู่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ ซึ่งไม่ทราบแน่ชัดว่าอยู่มา
เมื่อไหร่ (น่าจะมีอายุ 100 ปีขึ้นไป) ต่อมาเมื่อมีการพัฒนาประเทศทำให้มีผู้อพยพเข้ามาอยู่มากยิ่งขึ้น
การสัญจรหรือการคมนาคมของชุมชนในอดีตนั้นใช้การเดินทางโดยเรื่อจากคลองแจงร้อน ซึ่งเป็น
เรือหางยาวและได้พัฒนามาเป็นเรื่อปั่น ต่อมาในปี 2515 ชาวบ้านได้เลิกอาชีพปลูกข้าวแล้วหันมา
ปลูกส้ม (บางมด) แต่ได้เกินปัญหาเนื่องขากน้ำทะเลหนุ่นทำให้ในปี 2518 ต้องเลิกล้มการปลูกส้ม
ทำให้ชาวบ้านเริ่มขายที่ดินของตนเองและพยายามออกจากชุมชนไป ผู้ที่อพยพเข้ามาใหม่ได้ซื้อ
ที่ดินแล้วปลูกสร้างบ้านเรือนที่มั่นคง และทำเป็นบ้านเช่า และหอพัก ตามที่ปรากฏให้เห็นใน
ปัจจุบัน ต่อมาในปี 2541 ได้มีการก่อตั้งชุมชนอย่างเป็นทางการโดยใช้ชื่อชุมนว่า ชุมชนร่วนใจ
พัฒนา

    เริ่มก่อตั้งในปี 2541 หรือประมาณ 9 ปี มาแล้ว
    คนกลุ่มแรกที่มาก่อตั้งหมู่บ้าน /ชุมชน เป็นคนกลุ่มบ้านเดิม ซึ่งมีหลักฐานจากคำบอกเล่าว่า
ชุมชนนี้มาจากไหน เพราะว่า ผู้อาวุโสที่ทำงานในชุมชนก็เล่าว่า “เกิดมา พ่อแม่ก็อยู่ในชุมชนนี้แล้ว”
(กลุ่มคนดังเดิม) แต่กลุ่มคนที่อพยพมาใหม่นั้นส่วนมากอพยพมาจาก ภาคอีสาน ภาคเหนือ และภาค
กลางบางส่วน

1.2 โครงสร้างพื้นฐานชุมชนเริ่มเข้าไปพัฒนาเมื่อปี 2535 โดยมีการพัฒนาดังนี้
    - สร้างถนนในชุมชน
    - มีไฟฟ้าเกิดขึ้นในชุมชน
    - การสร้างถนนเป็นถนนคอนกรีต
    วัด/อื่นๆ 1. วัดกลางนา 2. วัดสน
ชาวบ้านในชุมชนนับถือศาสนาพุทธ วัดที่ใช้ทำกิจกรรมทางศาสนานั้นขึ้นอยู่กับ
ความสะดวกหรือความศรัทธา

1.3 สภาพปัจจุบัน ประชากรทั้งหมด 280 คน เป็นหญิง 132 คน เป็น ชาย 138 คน
    ในหมู่บ้าน/ชุมชนมีครัวเรือน 156 ครัวเรือน มีบ้านจำนวน 82 หลังคา

1.4 วัฒนธรรม/ประเพณี/ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในอดีต-ปัจจุบัน
    วัฒนธรรมในชุมชนร่วมใจพัฒนานั้นมีความหลากหลายเนื่องจากเป็นชุมชนที่เก่าแก่ ทาง
วัฒนธรรม ประเพณี การละเล่นที่ประกอบให้เห็นจากในอดีตนั้นมีดังนี้ 1) การเล่นสบ้า 2.)
การละเล่นไม่หึ่ง 3.) การเล่นไล่จับ 4) การทำบุญตักบาตรในวันสำคัญๆ 5) แห่นางแมว 6) อีกาฟัก
ไข่ 7) การไหว้พระแม่ธรณีตามมุมคันชุมชนา 8) พิธีรับขวัญข้าวเมื่อข้าวออกร่วง 9) การนำขวัญข้าว
มาไว้ในยุ่งฉาง 10) การแต่งงานแต่ในปัจจุบันวัฒนธรรมประเพณี การละเล่นเหล่านี้ได้สูญหายไป
จากชุมชน เหลือแต่วัฒนธรรมประเพณีการละเล่นตามเทศกาลสำคัญเท่านั้น เช่น ออกพรรษา การ
ทำบุญตักบาตร งานสงกรานต์ เป็นต้น
หมายเหตุ
บทการนางแมว (สไหว สมแสง)

    แม่นางแมวเอ่ย ขอน้ำ ขอฝนขอน้ำมาสาดหัวนางแมว ขอสินจ้างที่ ข้า หาแมวมาใครไม่ให้
ข้า ก็ขอให้มอดไช เรือน ใครไม่ให้นอนเป็นเพื่อน ก็ขอ ให้ เรือน ทะลาย
บท อีกาฟักไข่ ร้องสำหรับกล่อมเด็ก
    กาเอ่ย กาเหว่า ไข่ไว้ให้แม่กาฟัก แม่กาก็หลงรัก คิดว่าเป็นลูกในอุทธรณ์ ข้า คาบข้าวมา
เผื่อ ข้า คาบเหยื่อมาป้อน ถนอมไว้ในรังนอน ซ่อนเหยื่อไว้ให้กิน ปีกเจ้า ยัง อ่อน ท้อแท้ แม่เพิ่ง
สอน บิน แม่กา ก็ พาไปหากิน ที่ปากน้ำพระคงคา ตีนเจ้าเหมือนสาหร่าย ปากก็ไซ้ หากุ้งหาปลา
กินกุ้งกินก้าง กินหอยกระจิกแมงดา กินแล้วก็โผล่ มาจับที่ต้นหว้า โพธิ์ทอง

1.5 ปัญหาสำคัญภายในชุมชนมีดังนี้
    1. น้ำท่วมขังทำให้เกดน้ำเน่าเสียในชุมชน เนื่องจากไม่มีทางระบายน้ำ
    2. ขยะมีจำนวนมากโดยเฉพาะขยะจำพวก พลาสติก เนื่องจากไม่มีถังขยะและที่ทิ้ง
ขยะของสังคม
    3. ปัญหายาเสพติด
    4. มีการร่วมมือของคนในชุมชนในการเก็บขยะ

1.6 การทำงานร่วมกับหน่วยงานภายนอกชุมชนทั้งภาครัฐและเอกชน
    1. การทำงานร่วมกับสำนักงานเขตทุ่งครุ
    2. การทำงานร่วมกับสาธารณะสุขในเรื่องการให้บริการด้ายสุขภาพ
    3. การทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ตำรวจในการรักษาความปลอกภัยในชุมชน

1.7 แผนที่ชุมชน

1.8 ภาพสภาพแวดล้อมของชุมชน

2. ข้อมูลแบบสัมภาษณ์ของคณะกรรมการชุมชน
ชื่อชุมชน ชุมชนร่วมใจพัฒนา
ชื่อผู้ให้สัมภาษณ์ นางไสว สมแสง ตำแหน่ง/หน้าที่ ประธานชุมชน
    1. ที่ตั้งของชุมชน 37 ม.4 แขวงบางมด เขตทุ่งครุ กรุงเทพฯ
    2. อาณาเขตติดต่อ
      - ทิศเหนือติดกับ เขตราษฎร์บูรณะ
      - ทิศตะวันออกติดกับ ซอยสุขสวัสดิ์ 62
      - ทิศใต้ติดกับ วัดกลางนา
      - ทิศตะวันตกติดกับ โรงเรียนฟูศิลป์

    3. คณะกรรมการชุมชนมีบทบาทในการพัฒนาหรือการปกครองชุมชนอย่างไรบ้าง
      เป็นตัวหลักในการทำงานให้ชุมชนและประสานให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมพัฒนาชุมชน
โดยอาศัยความสัมพันธ์ของคนภายในชุมชนในการประสานให้เกิดการพัฒนาชุมชน

    4. ภายในชุมชนมีสถานที่สำคัญอะไรบ้างและมีความเป็นมาอย่างไร
      ไม่มี

    5. ชุมชนมีกฏระเบียบหรือข้อบังคับในการอยู่ร่วมกันภายในชุมชนอย่างไรบ้าง
      ไม่มีกฏระเบียบ จะอาศัยความสัมพันธ์ของคนในชุมชน เป็นกรอบหรือกติกา ในการอยู่
ร่วมกัน

    6. ชุมชนมีนโยบายหรือแผนในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง
      กำลังอยู่ในช่วงของการจัดทำแผนพัฒนาชุมชน โครงการได้ของบประมาณ ใน
ส่วนของวงเงิน (790,000 บาท) ประกอบด้วย
      1. เครื่องดับเพลิง
      2. ราวสะพาน ทางเดินเข้าชุมชน

    7. ในชุมชนมีปัญหาอะไรบ้าง
    - ปัญหาด้านสังคม
      มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาทะเลาะกัน
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
      น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหายาเสพติด ปัญหาฆาตรกรรม ปัญหาอย่าร้าง
ผู้สูงอายุถูกทอดทิ้ง ปัญหาลักเล็กขโมยน้อย ปัญหาวิ่งราว

    - ปัญหาด้านเศรษฐกิจ
      มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหารายได้น้อย ปัญหาหนี้นอกระบบ ปัญหา
หนี้ในระบบ ปัญหาการขาดแหล่งทุนสำหรับกู้ยืมประกอบอาชีพ ปัญหาคนว่างงาน ขากโอกาสใน
การประกอบอาชีพใหม่ ปัญหาขาดโอกาสในการพัฒนาฝีมือ ขาดตลาดขายผลิตภัณฑ์ ปัญญาการ
รวมกลุ่มอาชีพ

    - ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
      มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการจราจร ปัญหาการสื่อสารและ
โทรคมนาคม ไม่เพียงพอต่อความต้องการ
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง
      น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาผิวจราจรชำรุด

    - ปัญหาด้านสารธารณสุข
      มาก มีปัญหา การแพร่ระบาดของโรคที่มีสัตว์นำโรคเป็นพาหะ เช่น ยุง
แมลง หนู ขาดแคลนสถานที่ออกกำลังกาย ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง - ขาดแคลนอาสาสมัครเพื่อทำหน้าที่บริการ
ด้านสุขภาพ อยู่ห่างไกลสถานพยาบาล ปัญหาการติดสุรา ปัญหาการติดบุหรี่
      น้อย อุบัติเหตุบนท้องถนน

    - ปัญหาด้านการศึกษา
      มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
      น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาในการขาดโอกาสในการศึกษา ปัญหา
การศึกษาในระบบโรงเรียนยังขาดแคลนงบประมาณ ปัญหาผู้สอนไม่มีประสิทธิภาพ ปัญหาผู้สอน
ไม่เพียงพอกับจำนวนนักเรียน ปัญหาสื่อการเรียนการสอนไม่ได้คุณภาพ

    - ปัญหาด้านศาสนา
      ชุมชนร่วมใจพัฒนาไม่มีปัญหาด้านศาสนา

    - ปัญหาด้านประเพณีและวัฒนธรรม
      ชุมชนร่วมใจพัฒนาไม่มีปัญหาด้านประเพณีและวัฒนธรรม

    - ปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
      มาก มีปัญหาอะไรบ้าง - ปัญหาขยะมูลฝอย ปัญหาชุมชนแออัด ปัญหา
      ด้านการขาดการฟื้นฟูรักษา ปัญหาน้ำเน่าเสีย
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
      น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง

    - ปัญหาด้านการเมืองการบริหาร
      มาก มีปัญหาอะไรบ้าง - การขาดแคลนวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานที่เพียงพอและมีประสิทธิภาพ
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง
      น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง

8. จงเรียงลำดับความสำคัญของปัญหาที่ชุมชนต้องแก้ไขเร่งด่วนมากที่สุด เพราะอะไร
    8.1 ปัญหาถนนน้ำท่วมขัง เพราะ การระบายน้ำไม่ทัน ไม่มีเครื่องระบายน้ำ สัตว์มีพิษ
    8.2 ปัญหาจี้ปล้น เพราะ พื้นที่เป็นจุดอันตรายภายในชุมชน เป็น ตริด ซอก ซอย

9. ในชุมชนมีกลุ่มกิจกรรมอะไรบ้างที่ทางราชการและเอกชนเข้ามาส่งเสริม
    - ด้านสุขภาพ
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง กิจกรรมควบคุมโรคเบาหวาน,กิจกรรมควบคุมโรค
ความดันโลหิต, กิจกรรมรณรงค์ควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก,กิจกรรมการตรวจมะเร็งปาก
มดลูก,กิจกรรมการตรวจมะเร็งเต้านม

    - ด้านอาชีพ
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง การฝึกอบรมอาชีพเสริม เย็บผ้าวน (ผ้าเช็ดเครื่อง)

    - ด้านการออมทรัพย์
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง -กองทุนหมู่บ้าน กลุ่มฌาปกิจ กลุ่มออมทรัพย์

    - ด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
      ไม่มีกิจกรรม
    - ด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม
      ไม่มีกิจกรรม
    - ด้านการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อม
      มี กิจกรรม เก็บขยะในชุมชน, การขุดลอกคูคลอง ปลูกต้นไม้สวยงาม รณรงค์ให้ทิ้งขยะในถังขยะจัดที่ใส่ขยะให้เป็นระเบียบ

    - ด้านการเมืองการปกครอง
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง รณรงค์ให้ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งทุก ๆ ครั้งที่มีการ
เลือกตั้ง

10. ชุมชนมีโครงการในการพัฒนาชุมชนอะไรบ้างและแต่ละโครงการมีกิจกรรมอย่างไร
    1. โครงการท่อระบายน้ำ
    2. โครงการหอกระจายข่าว
    3. โครงการสะพานติดราวเหล็ก
    4. โครงการเครื่องดับเพลิง

11. คนดีและเก่งที่เป็นกำลังสำคัญในชุมชน
    - ด้านการทำอาหาร
      ขนมไทยและการทำอาหารคาวหวาน – ไสว สมแสง
    - ด้านการช่าง
      ช่างไม้ –ประยนต์ แสงเรือน, คุณศรี
    -ด้านการเกษตร
      ไม่มี
    - ด้านศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม (ทุกศาสนาที่มีอยู่ในชุมชน)
      ผู้นำการในการทำศาสนพิธีของศาสนา –ไสว สมแสง
    - ด้านอื่นๆ
      การทำน้ำยาล้างจาน –เพ็ญศรี สมแสง

12. ในชุมชนมีจุดอ่อนจุดแข็งอะไรบ้าง
    จุดแข็ง - มีการร่วมมือของคนในชุมชน
    จุดอ่อน - ความขัดแย้งของคนในชุมชนกับประธานชุมชนคนเก่า

13. รายชื่อคณะกรรมการหมู่บ้าน
    1. ไสว สมแสง ตำแหน่ง ประธาน
    2. เพ็ญศรี สมแสง ตำแหน่งเลนานุการ
    3. นิติวัฒน์ ตำแหน่ง กรรมการ

14. รายชื่อพัฒนาชุมชน (อช.)
    ไม่มี

15. รายชื่ออาสาสาธารณประจำชุมชน (อส.ม)
    1. ไสว สมแสง
    2. นิติวัฒน์

16. ในชุมชนมีสิ่งที่ทำให้สมาชิกในชุมชนมีความภาคภูมิใจอะไรบ้างเพราะอะไร
    ความเชื่อมั่นต่อตัสประธานชุมชน และคณะกรรมการชุมชน

17. ชุมชนมีความต้องการหรือความคาดหวังในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง
    1. อยากทำให้ชุมชนดีขึ้น
    2. อยากให้คนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนมากขึ้น

3. ข้อมูลแบบสอบถามของชุมชน
3.1. ส่วนที่ 1 ข้อมูลด้านประชากรของสมาชิกในครัวเรือน
3.1.1 ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนของชุมชนประกอบด้วย ข้อมูลรวมของสมาชิกใน
ครัวเรือน ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเพศชาย และข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเพศหญิง
ตาราง 1 แสดงร้อยละของครัวเรื่องที่มี สมาชิก 1-7 คน

ครัวเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนนี้มีสมาชิก
ประมาณ 3-4 คนต่อครัวเรื่อน
3.1.2 ข้อมูลส่วนบุคคลของสมาชิกใน
ครัวเรือนทั้งหมด
ตาราง 2 ร้อยละของเพศชายและเพศหญิง

ชุมชนร่วมใจพัฒนาประชากรประกอบด้วย
เพศชาย ร้อยละ 46.1 เพศหญิงร้อยละ 52.9
และไม่ตอบร้อยละ 1ตาราง 3 ร้อยละของอายุประชากรในชุมชน

ชุมชนร่วมใจพัฒนาประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่
ในช่วง 41-50 ปี มีเด็กอายุอยู่ในช่วง 0-10 ปีร้อยละ
14.9 และผู้สูงอายุร้อยละ 5
ตาราง 4 ระดับการศึกษา

ชุมชนร่วมใจพัฒนาประชากรส่วนใหญ่มีการศึกษา
ในระดับประถมศึกษา
ตาราง 5 การนับถือศาสนา

ชุมชนร่วมใจพัฒนาประชากรส่วนใหญ่นับ
ถือศาสนาพุทธ
ตาราง 6 รายได้ของคนในชุมชน

ชุมชนร่วมใจพัฒนาประชากรส่วนใหญ่มี
รายได้อยู่ในช่วง 5001-10000 บาท
ตาราง 7 รายจ่ายของคนในชุมชน

ชุมชนร่วมใจพัฒนาประชากรส่วนใหญ่มี
รายจ่ายอยู่ในช่วง 5001 – 10000 บาท
ตาราง 8 อาชีพหลัก ของคนในชุมชน

ชุมชนร่วมใจพัฒนาประชากรส่วนใหญ่ประกอบ
อาชีพหลักคือ รับจ้าง
ตาราง 9 อาชีพเสริม ของคนในชุมชน

คนในชุมชนร่วมใจส่วนใหญ่ร้อยละ 99 ไม่มีอาชีพ
เสริม
ตาราง 10 โรคประจำตัวของคนในชุมชน

โรคประจำตัว ของคนในชุมชนร่วมใจพัฒนา ได้แก่
เบาหวาน หัวใจ หอบ ปวดหลัง ความดัน เม็ดเลือด
ขาว
3.1.3 ตารางที่ 11 สถานะภาพครอบครัวในชุมชน

คนในชุมชนแยกกันอยู่หรือหย่าร้างประมาณ
ร้อยละ 16
3.1.4 ข้อมูลความขัดแย้งหรือการทะเลาะกัน
ในครัวเรือน (ตารางที่ 12)

คนในชุมชนร่วมใจพัฒนาร้อยละ 24 ทะเลาะ
กันเดือนละ1-2 ครั้ง
3.1.5 จำนวนข้อมูลผู้ว่างงานในครัวเรือน
(ตารางที่ 13)

ในครัวเรือนในชุมชนส่วนใหญ่มีคนว่างงาน
ประมาณ 1 คน
3.1.6 ข้อมูลจำนวนผู้พิการในครัวเรือน
(ตารางที่ 14)

มีอยู่ประมาณ 2 ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็นร้อยละ
8 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.7 ข้อมูลจำนวนผู้ติดสุราในครัวเรือน
(ตารางที่ 15)

มีผู้ติดสุรา 1-2 คนคิดเป็นร้อยละ 12 ของครัวเรือน
ทั้งหมด
3.1.8 ข้อมูลจำนวนผู้ติดบุหรี่ในครัวเรือน
(ตารางที่ 16)

มีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คนคิดเป็นร้อยละ 16 ของ
ครัวเรือนทั้งหมด
3.1.9 ข้อมูลการเล่นการพนันในครัวเรือน
ประกอบด้วย การเล่นการพนันของสมาชิกใน
ครัวเรือน และข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่
เล่นการพนัน
ข้อมูลการเล่นพนันของสมาชิกในครัวเรือน
(ตารางที่ 17)

มีเล่นการพนันคิดเป็นร้อยละ 4 ของ
ครัวเรือนทั้งหมด
ข้อมูลจำนวนสมาชิกที่เล่นการพนันใน
ครัวเรือน (ตารางที่ 18)

มีผู้เล่นการพนัน 3 คน 1 ครอบครัว คิดเป็น
ร้อยละ 4 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.10ข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล
ของสมาชิกในครัวเรือน ประกอบด้วย ข้อมูล
การซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกใน
ครัวเรือน ข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่
ซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล และข้อมูลรายจ่ายใน
การซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล
ข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิก
ในครัวเรือน (ตารางที่ 19)

มีผู้ซื้อกลากกินแบ่งคิดเป็นร้อยละ 36 ของครัวเรื่อน
ทั้งหมด
ข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลากกินแบ่ง
รัฐบาล (ตารางที่ 20)

ร้อยละ 20 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่ง
รัฐบาล ส่วนใหญ่จะซื่อประมาณ 1 คนในครอบครัว
ข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล
(ตารางที่ 21)

ส่วนใหญ่ใช้เงินซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลเดือนละ
200 บาท
3.1.11 ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่าย
ของครัวเรือน ประกอบด้วย ค่าอาหาร ค่าเช่า
บ้านหรือผ่านบ้าน ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์
ค่าการศึกษาบุตร ค่าเดินทาง ค่าเครื่องใช้ใน
ครัวเรือน ค่าเครื่องใช้ส่วนตัว และค่า
รักษาพยาบาล
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าอาหารของครัวเรือน (ตารางที่ 22)

ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 1
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านของครัวเรือน
(ตารางที่ 23)

ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 3
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าน้ำ
ค่าไฟ และค่าโทรศัพท์ของครัวเรือน
(ตารางที่ 24)

ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ
อันดับ 3
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
การศึกษาของบุตร (ตารางที่ 25)

ค่าเล่าเรียนบุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ
อันดับ 1
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าเดินทาง (ตารางที่ 26)

ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้
ความสำคัญอันดับ 1
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าของใช้ในครัวเรือน (เช่น สบู่ แชมพู
ผงซักฟอก เครื่องใช้ไฟฟ้า ฯลฯ)
(ตารางที่ 27)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่ แชมพู ผงซักฟอก
เครื่องใช้ไฟฟ้า มีความสำคัญอันดับ 5
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เครื่องใช้ส่วนตัว (เช่น เสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้า ฯลฯ)
(ตารางที่ 28)

3.1.12 ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน
ประกอบด้วย ข้อมูลการออมเงิน และข้อมูล
จำนวนเงินออม
ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน (ตารางที่ 30)

มีการออมเงินร้อยละ 12 ของครัวเรือน
ทั้งหมด
ข้อมูลจำนวนเงินออมในครัวเรือน
(ตารางที่ 31)

ร้อยละ 88 ของครัวเรือนไม่มีเงินออม
3.1.13ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน
ประกอบด้วย ข้อมูลการมีหนี้สิน และข้อมูล
จำนวนหนี้สิน
ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน (ตารางที่ 32)

ร้อยละ 32 ของครัวเรือนมีหนี้สินข้อมูลจำนวนหนี้สินในครัวเรือน
(ตารางที่ 33)

ร้อยละ 68 ของครัวเรือนไม่มีหนี้สิน
3.1.14 ข้อมูลการทำรายรับ – รายจ่าย
(ตารางที่ 34)

ไม่มีครอบครัวใดที่ทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย
3.2 ส่วนที่ 2 ข้อมูลด้านที่อยู่อาศัย
3.2.1 ภูมิลำเนาเดิม
ต่างจังหวัดได้แก่ ร้อยเอ็ด จำนวน1 ราย
แม่กลองจำนวน 1 ราย กรุงเทพฯและปริมณฑล
ได้แก่ กรุงเทพฯ จำนวน 3 ราย
บุคโลจำนวน 1 ราย
3.2.2 ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในชุมชน
(ตารางที่ 35)

อาศัยอยู่ในชุมชนในช่วง 2-30 ปี ส่วนใหญ่
อาศัยอยู่ประมาณ 20 ปี
3.2.3 การครอบครองที่อยู่อาศัย
ประกอบด้วยข้อมูลการครอบครองที่อยู่อาศัย
และข้อมูลด้านจำนวนพื้นที่อยู่อาศัย
การครอบครองที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 36)

ที่พักอาศัยส่วนใหญ่เป็นเจ้าของร้อยละ 56
จำนวนพื้นที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 37)

ส่วนใหญ่มีพื้นที่อยู่อาศัยประมาณ 20 ตรม
3.2.4 ลักษณะของที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 38)

ส่วนใหญ่ที่อยู่อาศัยเป็นแบบห้องแถว
ร้อยละ 40
2.2.5 บริเวณที่อยู่อาศัยของท่านมีความปลอดภัยใน
ชีวิตและทรัพย์สินหรือไม่ (ตารางที่ 39)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 36 เห็นว่ามีความปลอดภัยใน
ระดับปานกลาง
3.2.6 ครัวเรือนของท่านถูกรบกวนจากภาวะต่าง ๆ
หรือไม่
ถูกรบกวนจากขยะ (ตารางที่ 40)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 36 เห็นว่าถูกรบกวนจาก
ขยะในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากน้ำเน่าเสีย (ตารางที่ 41)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 76 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำ
เสียในระดับมาก
ถูกรบกวนจากน้ำท่วม (ตารางที่ 42)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 48 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำ
ท่วมในระดับมาก
ถูกรบกวนจากเสียงดัง (ตารางที่ 43)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 48 เห็นว่าถูกรบกวนจากเสียงดัง
ในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากการจราจรติดขัด (ตารางที่ 44)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 36 เห็นว่าถูกรบกวนจากจราจร
ติดขัดะในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากฝุ่นควันและก๊าซพิษ
(ตารางที่ 45)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 36 เห็นว่าถูกรบกวนจากฝุ่นควัน
และก๊าซพิษในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากด้านอื่น ๆ (ตารางที่ 46)

ส่วนใหญ่ร้อยละ76 ไม่ตอบว่าถูกรบกวนจากสิ่ง
อื่นๆ
3.2.7 ในรอบปีที่ผานมาครัวเรือนของท่าน
ได้รับการช่วยเหลือหรือการสนับสนุน ด้าน
ใดบ้างและจากหน่วยงานใด (เช่น) ค่าเล่า
เรียนบุตร การส่งเสริมอาชีพ การพ่นหมอก
ควันกำจัดยุง) (ตารางที่ 47)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72 ไม่ได้รับความช่วยเหลือ
จากหน่วยงานต่างๆ
สิ่งที่ได้รับการสนับสนุน มีการพ่นหมอก
ควันกำจัดยุงลาย
ความต้องการการสนับสนุน
1. กำจัดขยะ จำนวน 3 ราย
2. น้ำท่วม จำนวน 2 ราย
3. ท่อระบายน้ำ จำนวน 2 ราย
4. กำจัดยุงทุกเดือน จำนวน 1 ราย
5. ป้องกันขโมย, จำนวน 1 ราย
ยาเสพติด
6. ถนน จำนวน 1 ราย
3.3 ส่วนที่ 3 ข้อมูลด้านการเป็นสมาชิกกลุ่ม
หรือการร่วมทำกิจกรรมที่ได้รับการส่งเสริม
3.3.1 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านสุขภาพ
กิจกรรมออกกำลังกายผู้สูงอายุ (ตารางที่ 48)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 48 ไม่เข้าร่วมกิจกรรมสุขภาพ
เยาวชนรักกีฬา (ตารางที่ 49)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68 ไม่เข้าร่วมกิจกรรมเยาวชนรัก
กีฬา
เต้นแอโรบิค (ตารางที่ 50)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 76 เข้าร่วมกิจกรรมเต้น
แอโรบิค
งดสูบบุหรี่ (ตารางที่ 51)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 เข้าร่วมกิจกรรมงดสูบบุหรี่
ต่อต้านยาเสพติด (ตารางที่ 52)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 64 เข้าร่วมกิจกรรมต่อต้าน
ยาเสพติด
ป้องกันอุบัติเหตุ (ตารางที่ 53)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 48 ไม่เข้าร่วมกิจกรรม
ป้องกันอุบัติเหตุ
ควบคุมเบาหวาน (ตารางที่ 54)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 76 เข้าร่วมกิจกรรมควบคุม
เบาหวาน
ควบคุมความดันโลหิต (ตารางที่ 55)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 เข้าร่วมกิจกรรมควบคุมความ
ดันโลหิต
ควบคุมไข้เลือดออก (ตารางที่ 56)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 เข้าร่วมกิจกรรมควบคุม
ไข้เลือดออก
ตรวจมะเร็งปากมดลูก (ตารางที่ 57)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 76 เข้าร่วมกิจกรรมตรวจมะเร็ง
ปากมดลูก
ตรวจมะเร็งเต้านม (ตารางที่ 58)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 76 เข้าร่วมกิจกรรมควบคุมมะเร็ง
เต้านม
3.3.2 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านอาชีพ
ฝึกอาชีพเสริม (ตารางที่ 59)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 44 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมฝึก
อาชีพเสริม
ส่งเสริมการท่องเที่ยว (ตารางที่ 60)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ส่งเสริมการท่องเที่ยว
ส่งเสริมรายได้เด็ก (ตารางที่ 61)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
เสริมรายเด็ก
กิจกรรมชีวิตพอเพียง (ตารางที่ 62)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมชีวิต
พอเพียง กลุ่มแม่บ้าน (ตารางที่ 63)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่ม
แม่บ้าน
OTOP (ตารางที่ 64)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม OTOP
3.3.3 ข้อมูลด้านการออมทรัพย์
การทำบัญชีครัวเรือน (ตารางที่ 65)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 ตอบว่าไม่ทำบัญชีครัวเรือน
กองทุนหมู่บ้าน (ตารางที่ 66)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 76 เข้าร่วมกิจกรรมกองทุน
หมู่บ้าน
กลุ่มณาปนกิจ (ตารางที่ 67)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 80ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
กลุ่มณาปนกิจ
กลุ่มออมทรัพย์ (ตารางที่ 68)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
กลุ่มออมทรัพย์
กองทุนอาชีพ (ตารางที่ 69)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
กองทุนอาชีพ
ร้านค้าชุมชน (ตารางที่ 70)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 88 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมร้านค้า
ชุมชน
ออมทรัพย์อื่นๆ (ตารางที่ 71)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมออม
ทรัพย์อื่นๆ
3.3.4 ข้อมูลด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
อนุรักษ์ศิลปะ (ตารางที่ 72)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่ม
อนุรักษ์ศิลปะ
การทำบุญตักบาตร (ตารางที่ 73)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่มออม
ทรัพย์
วันปีใหม่สงกรานต์ (ตารางที่ 74)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
ปีใหม่สงกรานต์
การส่งเสริมศิลปะ (ตารางที่ 75)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 76 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
ส่งเสริมศิลปะ
ศาสนพิธี (ตารางที่ 76)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 80เข้าร่วมกิจกรรมศาสนพิธี
พิธีอื่นๆ (ตารางที่ 77)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 96 ไม่เข้าร่วมพิธีอื่น
3.3.5 ข้อมูลด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม
ป้องกันยาเสพติด (ตารางที่ 78)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 44 เข้าร่วมกิจกรรมป้องกันอ
ยาเสพติด
กลุ่มผู้สูงอายุ (ตารางที่ 79)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 54 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่ม
ผู้สูงอายุ
กิจกรรมเยาวชน (ตารางที่ 80)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมเยาวชน
ป้องกันขโมย (ตารางที่ 81)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมป้องกัน
ขโมย
กิจกรรมห่วงใยวัย70 (ตารางที่ 82)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ห่วงใยวัย70
ส่งเสริมสถาบันครอบครัว (ตารางที่ 83)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ส่งเสริมสถาบันครอบครัว
กิจกรรมส่งเคราะห็ผู้ด้อยโอกาส(ตารางที่ 84)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
สงเคระห์ผู้ด้อยโอกาส/ผู้พิการ
กองทุนพัฒนาชุมชน (ตารางที่ 85)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกองทุน
พัฒนาชุมชน
กองทุนผู้สูงอายุ (ตารางที่ 86)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกองทุน
ผู้สูงอายุ
3.3.6 ข้อมูลด้านการจัดการักษาสิ่งแวดล้อม
ระวังคุณภาพน้ำ (ตารางที่ 87)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมเฝ้าระวัง
คุณภาพน้ำ
ชุมชนน่าอยู่ (ตารางที่ 88)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมชุมชนน่า
อยู่
เก็บขยะในชุมชน (ตารางที่ 89)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
เก็บขยะในชุมชน
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (ตารางที่ 90)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ขุดลอกคูคลอง (ตารางที่ 91)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 76 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
ขุดลอกคูคลอง
ปลูกต้นไม้ (ตารางที่ 92)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
ปลูกต้นไม้ ซ่อมแซมสาธารณูปโภค (ตารางที่ 99)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 76 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
ซ่อมแซมสาธารณูปโภค
ทำความสะอาด (ตารางที่ 100)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมทำ
ความสะอาด
ทิ้งขยะในถัง (ตารางที่ 101)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 76 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมทิ้งขยะ
ในถัง
3.3.7 ข้อมูลด้านการเมืองการปกครอง
รณรงค์เลือกตั้ง (ตารางที่ 102)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
รณรงค์เลือกตั้ง
อบรมความรู้การเมือง (ตารางที่ 103)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
อบรมความรู้การเมือง

 

สรุปข้อมูลจากการสำรวจโดยแบบสอบถามระหว่างวันที่ …..................
     สำรวจโดยใช้แบบสอบถามจากครัวเรือนทั้งหมด 25 ครัวเรือนคิดเป็น 60 เปอร์เซนต์ของ
ครัวเรือนทั้งหมดในชุมชน ในชุมชนนี้มีสมาชิกประมาณ 3-4 คนต่อครัวเรื่อน ประชากรประกอบด้วย
เพศชาย ร้อยละ 46.1 เพศหญิงร้อยละ 52.9 และไม่ตอบร้อยละ 1 ประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง 41-
50 ปี มีเด็กอายุอยู่ในช่วง 0-10 ปีร้อยละ 14.9 และผู้สูงอายุร้อยละ 5 ประชากรส่วนใหญ่มีการศึกษาใน
ระดับประถมศึกษา ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประชากรส่วนใหญ่มีรายได้อยู่ในช่วง 5001-
10000 บาทและมีรายจ่ายอยู่ในช่วง 5001 – 10000 บาท ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพหลักคือ รับจ้าง
คนในชุมชนส่วนใหญ่ร้อยละ 99 ไม่มีอาชีพเสริม โรคประจำตัว ของคนในชุมชน ได้แก่ เบาหวาน หัวใจ
หอบ ปวดหลัง ความดัน เม็ดเลือดขาว คนในชุมชนแยกกันอยู่หรือหย่าร้างประมาณ ร้อยละ 16 คนใน
ชุมชนร้อยละ 24 ทะเลาะกันเดือนละ1-2 ครั้ง ในครัวเรือนส่วนใหญ่มีคนว่างงาน ประมาณ 1 คน มีอยู่
ประมาณ 2 ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็นร้อยละ 8 ของครัวเรือนทั้งหมด มีผู้ติดสุรา 1-2 คน คิดเป็นร้อยละ
12 ของครัวเรือนทั้งหมด มีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คนคิดเป็นร้อยละ 16 ของครัวเรือนทั้งหมด มีเล่นการ
พนันคิดเป็นร้อยละ 4 ของครัวเรือนทั้งหมด มีผู้เล่นการพนัน 3 คน 1 ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 4 ของ
ครัวเรือนทั้งหมด มีผู้ซื้อกลากกินแบ่งคิดเป็นร้อยละ 36 ของครัวเรือนทั้งหมด ร้อยละ 26 ของครัวเรือน
ทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล ส่วนใหญ่จะซื้อประมาณ 1 คนในครอบครัว ส่วนใหญ่ใช้เงินซื้อสลาก
กินแบ่งรัฐบาลเดือนละ 200 บาท ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 1 ค่าเล่าเรียน
บุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้ความสำคัญอันดับ 1
ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 3 ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 3 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่ แชมพู ผงซักฟอก เครื่องใช้ไฟฟ้า มีความสำคัญอันดับ 5
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัวให้ความสำคัญอันดับ 5-6 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้
ความสำคัญอันดับ 6 มีการออมเงินร้อยละ 12 ของครัวเรือนทั้งหมด ร้อยละ 88 ของครัวเรือนไม่มีเงิน
ออม ร้อยละ 32 ของครัวเรือนมีหนี้สิน ร้อยละ 68 ของครัวเรือนไม่มีหนี้สิน ไม่มีครอบครัวใดที่ทำบัญชี
รายรับ-รายจ่าย ภูมิลำเนาเดิม ต่างจังหวัดได้แก่ ร้อยเอ็ด จำนวน1 ราย แม่กลองจำนวน 1 ราย
กรุงเทพฯและปริมณฑลได้แก่ กรุงเทพฯ จำนวน 3 ราย บุคโลจำนวน 1 ราย

      ด้านที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมของครัวเรือน ส่วนใหญ่คนในชุมชนนี้อาศัยอยู่ประมาณ 20 ปี
ที่พักอาศัยส่วนใหญ่เป็นเจ้าของร้อยละ 56 ส่วนใหญ่มีพื้นที่อยู่อาศัยประมาณ 20 ตรม ส่วนใหญ่ที่อยู่
อาศัยเป็นแบบห้องแถวร้อยละ 40 ส่วนใหญ่ร้อยละ 36 เห็นว่าถูกรบกวนจากขยะในระดับปานกลาง
ส่วนใหญ่ร้อยละ 76 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำเสียในระดับมาก ส่วนใหญ่ร้อยละ 48 เห็นว่าถูกรบกวนจาก
น้ำท่วมในระดับมาก ส่วนใหญ่ร้อยละ 48 เห็นว่าถูกรบกวนจากเสียงดังในระดับน้อย ส่วนใหญ่ร้อยละ
36 เห็นว่าถูกรบกวนจากจราจรติดขัดะในระดับน้อย ส่วนใหญ่ร้อยละ 36 เห็นว่าถูกรบกวนจากจราจร
ติดขัดในระดับน้อย ส่วนใหญ่ร้อยละ76 ไม่ตอบว่าถูกรบกวนจากสิ่งอื่นๆ ส่วนใหญ่ร้อยละ 72 ไม่ได้รับ
ความช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆ สิ่งที่ได้รับการสนับสนุน มีการพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย ความ
ต้องการการสนับสนุน ได้แก่ กำจัดขยะ น้ำท่วม ท่อระบายน้ำ กำจัดยุงทุกเดือน ป้องกันขโมย, ยาเสพติด
ถนน

      ในด้านการเข้าร่วมกิจกรรมในชุมชนส่วนใหญ่ร้อยละ 48 ไม่เข้าร่วมกิจกรรมสุขภาพ ส่วนใหญ่
ร้อยละ 68 ไม่เข้าร่วมกิจกรรมเยาวชนรักกีฬา ส่วนใหญ่ร้อยละ 76 เข้าร่วมกิจกรรมเต้นแอโรบิค ส่วน
ใหญ่ร้อยละ 60 เข้าร่วมกิจกรรมงดสูบบุหรี่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 64 เข้าร่วมกิจกรรมต่อต้านยาเสพติด
ส่วนใหญ่ร้อยละ 48 ไม่เข้าร่วมกิจกรรมป้องกันอุบัติเหตุ ส่วนใหญ่ร้อยละ 76 เข้าร่วมกิจกรรมควบคุม
เบาหวาน ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 เข้าร่วมกิจกรรมควบคุมความดันโลหิต ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 เข้าร่วม
กิจกรรมควบคุมไข้เลือดออก ส่วนใหญ่ร้อยละ 76 เข้าร่วมกิจกรรมตรวจมะเร็งปากมดลูก ส่วนใหญ่ร้อย
ละ 76 เข้าร่วมกิจกรรมควบคุมมะเร็งเต้านม ส่วนใหญ่ร้อยละ 44 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมฝึกอาชีพเสริม
ส่วนใหญ่ร้อยละ 68 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว ส่วนใหญ่ร้อยละ 68 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
เสริมรายเด็ก ส่วนใหญ่ร้อยละ 56 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมชีวิตพอเพียง ส่วนใหญ่ร้อยละ 56 ตอบว่าไม่มี
กิจกรรมกลุ่มแม่บ้าน ส่วนใหญ่ร้อยละ 56 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม OTOP ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 ตอบว่าไม่ทำ
บัญชีครัวเรือน ส่วนใหญ่ร้อยละ 76 เข้าร่วมกิจกรรมกองทุนหมู่บ้าน ส่วนใหญ่ร้อยละ 80ตอบว่าไม่มี
กิจกรรมกลุ่มณาปนกิจ ส่วนใหญ่ร้อยละ 68 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์ ส่วนใหญ่ร้อยละ 68
ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกองทุนอาชีพ ส่วนใหญ่ร้อยละ 88 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมร้านค้าชุมชน
ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมออมทรัพย์อื่นๆ ส่วนใหญ่ร้อยละ 68 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่ม
อนุรักษ์ศิลปะ ส่วนใหญ่ร้อยละ 68 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์ ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 ตอบว่าเข้า
ร่วมกิจกรรมปีใหม่สงกรานต์ ส่วนใหญ่ร้อยละ 76 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมศิลปะ
ส่วนใหญ่ร้อยละ 80เข้าร่วมกิจกรรมศาสนพิธีส่วนใหญ่ร้อยละ 96 ไม่เข้าร่วมพิธีอื่น ส่วนใหญ่ร้อยละ 44
เข้าร่วมกิจกรรมป้องกันอยาเสพติด ส่วนใหญ่ร้อยละ 54 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่มผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่ร้อย
ละ 80 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมเยาวชน ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมป้องกันขโมย
ส่วนใหญ่ร้อยละ 68 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมห่วงใยวัย70 ส่วนใหญ่ร้อยละ 68 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมส่งเสริม
สถาบันครอบครัว ส่วนใหญ่ร้อยละ 68 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมส่งเคระห์ผู้ด้อยโอกาส/ผู้พิการ ส่วนใหญ่
ร้อยละ 68 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกองทุนพัฒนาชุมชน ส่วนใหญ่ร้อยละ 68 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกองทุน
ผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมเฝ้าระวังคุณภาพน้ำ ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 ตอบว่าไม่มี
กิจกรรมชุมชนน่าอยู่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมเก็บขยะในชุมชน ส่วนใหญ่ร้อยละ 56
ตอบว่าไม่มีกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ส่วนใหญ่ร้อยละ 76 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมขุดลอกคูคลอง
ส่วนใหญ่ร้อยละ 68 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้ ส่วนใหญ่ร้อยละ 76 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
ซ่อมแซมสาธารณูปโภค ส่วนใหญ่ร้อยละ 72 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมทำความสะอาด ส่วนใหญ่ร้อยละ
76 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมทิ้งขยะในถัง ส่วนใหญ่ร้อยละ 56 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมรณรงค์เลือกตั้ง
ส่วนใหญ่ร้อยละ 56 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมอบรมความรู้การเมือง