ชุมชนหลังวัดกลางนา
ชุมชน หลังวัดกลางนา แขวง บางมด เขตทุ่งครุ จังหวัด กรุงเทพมหานครฯ
1. ข้อมูลพื้นฐานของชุมชน
1.1 ประวัติและความเป็นมาของชุมชน
    ชุมชนหลังวัดกลางนาเป็นชุมชนในเขตทุ่งครุดั้งเดิม เริ่มก่อตั้งชุมชนมาเมื่อประมาณ 8 ปีที่
แล้วซึ่งเริ่มมีการเข้าตั้งชุมชน จำนวน 4 หลังคาเรือน มีสำนักสงฆ์เป็นทุนทางวัฒนธรรมที่เป็นศูนย์
รวมจิตใจของคนในชุมชน การเดินทางยังไม่สะดวกนักเนื่องจากพื้นที่ ส่วนใหญ่เป็นคลองน้ำใส
สะอาด พาหนะที่ใช้เดินทางไปมา คือเรือพาย พื้นที่ส่วนใหญ่ของชุมชนเป็นป่ และสวนส้ม อาชีพ
ดั้งเดิม เป็นอาชีพทำสวนส้มบางมด และทำนา หลังจากนั้นชุมชนได้เกิดการเปลี่ยนแปลงอาชีพ คือ
ซึ่งจากที่เคยทำนา ทำสวนสัมบางมด ที่มีชื่อเสียงแต่แล้วก็ต้องล้มเลิกอาชีพทำสวนส้มไป เนื่องจาก
ประสบปัญหาน้ำเสีย น้ำท่วม น้ำเค็มหนุนและการเสื่อมสภาพของดิน ชาวบ้านเริ่มขยายพื้นที่จาก
เดิมที่เคยเป็นสวนหรือท้องนา เปลี่ยนเป็นสภาพไปเป็นชุมชนเนื่องจากเจ้าของที่ดินได้แบ่งเป้นล็อก
ขาย ให้ตั้งเป็นบ้านเรือน ซึ่งมีพื้นที่ล็อกละ 50 ตารางวา เริ่มก่อตั้งในปี 2542 หรือประมาณ 8 ปี
มาแล้วคนในชุมชนที่เป็นคนดั้งเดิมมีน้ย และที่เหลืออยู่ในปัจจุบันมีเพียง 5-6 หลังนอก จากนั้น
อพยพมาจากที่อื่น ๆ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นคนภาคอีสาน และรองลงมาเป็นคนภาคเหนือ
1.2 โครงสร้างพื้นฐานชุมชน เริ่มเข้ามาพัฒนาเมื่อปี พ.ศ. 2546 ดังนี้
    -ไฟฟ้า
    - น้ำประปาเข้ามาในชุมชน
    - มีหอกระจายข่าว ซึ่งจะแจ้งข้อมูลข่าวสารในเรื่องต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นข่าวสารจาก
สาธารณสุขสุมชน สำนักงานเขต
1.3 สภาพปัจจุบัน ประชากรทั้งหมด 368 คน ชาย 181 คน หญิง 187 คน
    ชุมชนมีครัวเรือน 153 ครอบครัว มีบ้าน 66 หลังคาเรือน
ข้อมูลจากสำนักงานเขตทุ่งครุ (เดือนตุลาคม 2549)
ชาวชุมชนหลังวัดกลางนาส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ อาชีพปัจจุบันของคนในชุมชน คือ
รับจ้าง (รับงานจากโรงงานมาทำ เช่น เย็บผ้าโหล)
1.4 วัฒนธรรม/ประเพณี/ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในอดีต-ปัจจุบัน
    วัฒนธรรมในชุมชนร่วมใจพัฒนานั้นมีความหลากหลายเนื่องจากเป็นชุมชนที่เก่าแก่ ทาง
วัฒนธรรม ประเพณี การละเล่นที่ประกอบให้เห็นจากในอดีตนั้นมีดังนี้ 1) การเล่นสบ้า 2.)
การละเล่นไม่หึ่ง 3.) การเล่นไล่จับ 4) การทำบุญตักบาตรในวันสำคัญๆ 5) แห่นางแมว 6) อีกาฟัก
ไข่ 7) การไหว้พระแม่ธรณีตามมุมคันชุมชนา 8) พิธีรับขวัญข้าวเมื่อข้าวออกร่วง 9) การนำขวัญข้าว
มาไว้ในยุ่งฉาง 10) การแต่งงานแต่ในปัจจุบันวัฒนธรรมประเพณี การละเล่นเหล่านี้ได้สูญหายไป
จากชุมชน เหลือแต่วัฒนธรรมประเพณีการละเล่นตามเทศกาลสำคัญเท่านั้น เช่น ออกพรรษา การ
ทำบุญตักบาตร งานสงกรานต์ เป็นต้น
1.5 ปัญหาสำคัญในชุมชนมีดังนี้
    1. ปัญหาน้ำเสีย
    2. ปัญหาลักขโมย
    3. ปัญหาน้ำท่วม เพราะท่อระบายน้ำตัน น้ำท่วมในพื้นที่เตี้ย ๆ
    4. ปัญายาเสพติดภายในชุมชน
1.6 การทำงานร่วมกับหน่วยงานภายนอกชุมชน
    1. สำนักงานเขตทุ่งครุกรุงเทพมหนคร
      - เข้าจัดตั้งโรงเรียนในปี 2542 แรกตั้งโรงเรียนนุบาล
      - โครงการกองทุนแผ่นดินแม่ เป็นกิจกรรมเกี่ยวกับการรณรงค์ปลอดยาเสพย์ติด ในพระบรม
ราชูปถัมภ์
    2. อนามัยเขตทุ่งครุ
      - เข้ามาดูเรื่องสุขอนามัยและบริการ ตรวจเบาหวาน ตรวจวัดความดัน
    3. มีการจัดประชุมเพื่อร่วมกันทำแผนแม่บทชุมชน
1.7 แผนที่ชุมชน

 

1.8 สภาพแวดล้อมของชุมชน

2. ข้อมูลแบบสัมภาษณ์ของคณะกรรมการชุมชน
ชื่อชุมชน หลังวัดกลางนา
ชื่อผู้ให้สัมภาษณ์ นายรังสรรค์ พูลเพิ่ม ตำแหน่ง/หน้าที่ ประธานชุมชน
    1. ที่ตั้งของชุมชน 81/1 ซอยประชาอุทิศ 27 หมู่ 4 แขวงบางมด เขตทุ่งครุ กรุงเทพฯ 10140
    2. อาณาเขตติดต่อ
      - ทิศเหนือติดกับ เขตราษฎร์บูรณะ
      - ทิศตะวันออกติดกับ เขตพระประแดง
      - ทิศใต้ติดกับ ซอยประชาอุทิศ 33
      - ทิศตะวันตกติดกับ ศูนย์บริการสาธารณสุข 44
    3. คณะกรรมการชุมชนมีบทบาทในการพัฒนาหรือการปกครองชุมชนอย่างไรบ้าง
      3.1 การพัฒนาปัญหาน้ำท่วม (มีเครื่องสูบน้ำ)
      3.2 ส่งเสริมการประกอบอาชีพ OTOP, การทำแชมพู (กลุ่มแม่บ้าน) งบประมาณ
790,000 บาท
    4. ภายในชุมชนมีสถานที่สำคัญอะไรบ้างและมีความเป็นมาอย่างไร
      4.1 โรงเรียนวัดกลางนา
      4.2 วัดกลางนา อ.พงษ์ เจ้าสำนักสงฆ์เป็นผู้ก่อตั้ง แล้วชาวบ้านเริ่มบริจาคพื้นที่
สร้างวัด และเริ่มมีการพัฒนา (มีเจ้าอาวาส 3 รุ่น)
      4.3 สาธารณสุขชุมชน
    5. ชุมชนมีกฏระเบียบหรือข้อบังคับในการอยู่ร่วมกันภายในชุมชนอย่างไรบ้าง
      กฎระเบียบไม่ค่อยได้สร้าง อาศัยความสัมพันธ์ระหว่างกันและกัน (กฎระเบียบใน
ชุมชนไม่มี)
    6. ชุมชนมีนโยบายหรือแผนในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง
      มีการประชุมชาวบ้าน เป็นรูปของคณะกรรมการ อย่างเช่น งบการพัฒนาชุมชน
790,000 บาท มีการกำหนดโครงการที่แน่ชัดมีแผนชุมชน (มีการจัดกิจกรรมในชุมชนตามประเพณี
ฯ)
    7. ในชุมชนมีปัญหาอะไรบ้าง
      - ปัญหาด้านสังคม
      มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาลักเล็กขโมยน้อย
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหายาเสพติด
      น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาทะเลาะกัน
    - ปัญหาด้านเศรษฐกิจ
      มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาหนี้ในระบบ, ปัญหาการขาดโอกาสในการ
พัฒนาฝีมือ/ผลิตภัณฑ์, ปัญหาขาดตลาดสำหรับขายผลิตภัณฑ์
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการขาดโอกาสในการประอบอาชีพ
ใหม่, ปัญหารายได้น้อย, ปัญหาการขาดแหล่งทุนสำหรับกู้ยืมในการประกอบอาชีพ
      น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาว่างงาน, ปัญหาหนี้นอกระบบ
    - ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
       มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาผิวจรารแตกชำรุดหรือเป็นหลุมเป็นบ่อ,
ปัญหาการจราจรที่หนาแน่นและการเดินทางที่ไม่สะดวกสบาย
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการจราจรที่มักเกิดอุบัติเหตุ, ปัญหา
การสื่อสารและโทรคมนาคม เช่น โทรศัพท์สาธารณะไม่เพียงพอ
      น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เกิดการชำรุดและไม่ได้รับ
การซ่อมแซม, ปัญหาน้ำประปาไม่ทั่วถึง, ปัญหาน้ำประปาไม่มีคุณภาพ เช่น มีกลิ่นเหม็นและสีไม่
พึงประสงค์ต่อการใช้น้ำ
    - ปัญหาด้านสารธารณสุข
      มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ เช่น ความดันโลหิต
สูง
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
      น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง การแพร่ระบาดของโรคที่มีสัตว์นำโรคพาหะ เช่น
ยุง แมลง หนูปัญหา, ขาดแคลนสถานที่ออกกำลังกาย, ความเสียงในการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย
, ปัญหาโรคไม่ติดต่อเช่น มะเร็ง, ปัญหาการติดสุรา, ปัญหาการติดบุหรี่, ปัญหาอุบัติเหตุจาก
การจราจรบนท้องถนน
    - ปัญหาด้านการศึกษา
      มากมีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการเรียนการสอนในระบบนอกโรงเรียนใน
ชุมชนยังขาดความพร้อม, ปัญหาผู้สอนม่เพียงพอกับนักเรียน
      ปานกลางมีอะไรบ้าง –
      น้อยมีอะไรบ้าง ปัญหาขาดโอกาสในการศึกษา, ปัญหาผู้สอนไม่มี
คุณภาพ
     - ปัญหาด้านศาสนา
        มากมีอะไรบ้าง การกำหนดบทบาทและหน้าที่ของกรมศาสนาไม่มีความ
ชัดเจนและเหมาะสมกับภารกิจ
        ปานกลางมีอะไรบ้าง –
        นอ้ยมีไรบ้าง -
     - ปัญหาด้านประเพณีและวัฒนธรรม
        ไม่มีปัญหาด้านประเพณีและวัฒนธรรม
     - ปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาน้ำเน่าเสีย, ปัญหาด้านการขาดการฟื้นฟู
ดูแลบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, ปัญหาโรงงานน้ำเสียจากโรงงาน
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาชุมชนแออัด
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาขยะมูลฝอย
      - ปัญหาด้านการเมืองการบริหาร
        ไม่มีปัญหาด้านการเมืองการบริหาร
    8. จงเรียงลำดับความสำคัญของปัญหาที่ชุมชนต้องแก้ไขเร่งด่วนมากที่สุด เพราะอะไร
       8.1 ปัญหาน้ำท่วม เพราะ ไม่มีท่อระบายน้ำ
        8.2 ปัญหาถนนทางเข้าชุมชน เพราะ เป็นของเอกชน ต้องการเอาที่ดินคืนให้ชุมชน
    9. ในชุมชนมีกลุ่มกิจกรรมอะไรบ้างที่ทางราชการและเอกชนเข้ามาส่งเสริม
      - ด้านสุขภาพ
        มี กิจกรรมอะไรบ้าง กิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ,
กิจกรรมส่งเสริมเยาวชนรักกีฬา, กิจกรรมเต้นแอโรบิค, กิจกรรมรณรงค์วันงดสูบบุหรี่, กิจกรรม
รณรงค์ต่อต้านยาเสพติด, กิจกรรมรณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุจากการจราจร, กิจกรรมป้องกันโรค
ควบคุมโรคเบาหวาน, กิจกรรมรณรงค์ป้องกันควบคุมความดันโลหิต, กิจกรรมรณรงค์ป้องกัน
ไข้เลือดออก, กิจกรรมการตรวจมะเร็งปากมดลูก, กิจกรรมการตรวจมะเร็งเต้านม
      ไม่มี กิจกรรมอะไรบ้าง -
    - ด้านอาชีพ
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง การฝึกอบรมอาชีพเสริม, กิจกรรมชีวิตพอเพียงตาม
แนวพระราชดำริ, จัดตั้งกลุ่มแม่บ้าน, การส่งเสริมการท่องเที่ยว, กลุ่ม OTOP
      ไม่มี กิจกรรมอะไรบ้าง ส่งเสริมรายได้พิเศษของเด็ก
    - ด้านการออมทรัพย์
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง กองทุนหมู่บ้าน, กลุ่มออมทรัพย์
      ไม่มี กิจกรรมอะไรบ้าง กลุ่มฌาปนกิจ, กองทุนร้านค้าในชุมชน, การทำ
บัญชีครัวเรือน, กองทุนประกอบอาชีพ
    - ด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม, การทำบุญตักบาตร,
กิจกรรมวันปีใหม่และวันสงกรานต์, การส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม, ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับศาสนพิธีและ
วันสำคัญทางศาสนา
      ไม่มี กิจกรรมอะไรบ้าง -
    - ด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง การป้องกันยาเสพติด, มีการรวมกลุ่มกิจกรรมของ
ผู้สูงอายุ, กิจกรรมเพื่อเยาวชน, ส่งเสริมสถาบันครอบครัว, กองทุนพัฒนาชุมชน, กองทุนผู้สูงอายุ,
การป้องกันการขโมย, กิจกรรมห่วงใยวัย 70 ปี
      ไม่มี กิจกรรมอะไรบ้าง -
    - ด้านการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อม
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง เฝ้าระวังคุณภาพน้ำ, การประกวดชุมชนน่าอยู่, การ
เก็บขยะในชุมชน, การขุดลอกคูคลอง, ปรับปรุงหรือซ่อมแซม, รณรงค์ให้ทิ้งขยะในถังขยะ, การเฝ้า
ระวังคุณภาพน้ำ, จัดคนในชุมชนเป็นผู้ทำความสะอาด เพื่อให้มีรายได้
     ไม่มี กิจกรรมอะไรบ้าง การอบรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม, ปลูกต้นไม้ให้
สวยงาม
    - ด้านการเมืองการปกครอง
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง รณรงค์ให้ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งทุก ๆ ครั้งที่มีการ
เลือกตั้ง, อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเมือง
      ไม่มี กิจกรรมอะไรบ้าง -
    10. ชุมชนมีโครงการในการพัฒนาชุมชนอะไรบ้างและแต่ละโครงการมีกิจกรรมอย่างไร
      10.1 ขยายสพาน คสล. สถานที่ในชุมชน ระยะเวลา 1 เดือน
      10.2 ท่อระบายน้ำ สถานที่ชุมชน
    11. คนดีและเก่งที่เป็นกำลังสำคัญในชุมชน
      - ด้านการทำอาหาร (ไม่ตอบ)
      - ด้านการช่าง (ไม่ตอบ)
      - ด้านการเกษตร (ไม่ตอบ)
      - ด้านศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม (ไม่ตอบ)
      - ด้านการแพทย์แผนไทย (ไม่ตอบ)
      - ด้านการประดิษฐ์ (ไม่ตอบ)
      - ด้านอื่น ๆ (ไม่ตอบ)
    12. ในชุมชนมีจุดอ่อนจุดแข็งอะไรบ้าง
      จุดแข็ง
        - ความเชื่อมั่นของชุมชนที่มีต่อตัวผู้นำ
      จุดอ่อน
        - เรื่องความร่วมมือ
        - เรื่องความขัดแย้ง
    13. รายชื่อคณะกรรมการหมู่บ้าน
      1. นายรังสรรค์ พูลเพิ่ม ตำแหน่ง ประธาน
      2. นายยุญโฮม ธรรมนาม ตำแหน่ง รองประธาน
      3. นายสนั่น ภูโคตรศรี ตำแหน่ง รองประธาน
      4. นายประกอบ ขันธ์สันเที่ยะ ตำแหน่ง เลขา
      5. นางประภาพร ทางวิเศษ ตำแหน่ง เหรัญญิก
      6. นายสมพงษ์ ชูก้าม ตำแหน่ง นายทะเบียน
      7. นายนางวันเทียน ศรีประทุม ตำแหน่ง ปฏิคม
      8. นางอุไร ชูสม ตำแหน่ง ประชาสัมพันธ์
    14. รายชื่อพัฒนาชุมชน (อช.)
       -
    15. รายชื่ออาสาสาธารณประจำชุมชน (อส.ม)
        1. นางวันเทียน ศรีประทุม เบอร์โทร 02-8709988
        2. นางบังอร ฐานันดี เบอร์โทร 02-8709330
        3. นางสุนีย์ เนตรสูงเนิน เบอร์โทรศัพท์ -
        3. นางป่ม ซุ้มแดง เบอร์โทร -
    16. ในชุมชนมีสิ่งที่ทำให้สมาชิกในชุมชนมีความภาคภูมิใจอะไรบ้างเพราะอะไร
        - ในชุมชนมีโรงเรียน
        - มีวัด (วัดบางกลางนา)
    17. ชุมชนมีความต้องการหรือความคาดหวังในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง
        - สิ่งแวดล้อมที่ดี
        - ถนนหนทางสะดวก

3. ข้อมูลแบบสอบถามของชุมชน
3.1. ส่วนที่ 1 ข้อมูลด้านประชากรของสมาชิก
ในครัวเรือน
3.1.1 ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนของชุมชน
ประกอบด้วย ข้อมูลรวมของสมาชิกในครัวเรือน
ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเพศชาย และ
ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเพศหญิง
ตาราง 1 แสดงจำนวนของสมาชิกในครัวเรือน

ครัวเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนนี้มีสมาชิก
ประมาณ 3-4 คนต่อครัวเรื่อน
3.1.2 ข้อมูลส่วนบุคคลของสมาชิกในครัวเรือน
ทั้งหมด
ตาราง 2 ร้อยละของเพศชายและเพศหญิง

ชุมชนหลังวัดกลางนาประชากรประกอบด้วย
เพศชาย ร้อยละ 45.7 เพศหญิงร้อยละ 47 และไม่
ตอบร้อยละ 7.3
ตาราง 3 ร้อยละของอายุประชากรในชุมชน

ชุมชนหลังวัดกลางนาประชากรส่วนใหญ่มีอายุ
อยู่ในช่วง 0-10 ปี คิดเป็นร้อยละ 21.2 มี
ประชากรที่อยู่ในวัยชรา คิดเป็นร้อยละ 3.9 ของ
ประชากรทั้งหมด
ตาราง 4 ระดับการศึกษา

ชุมชนหลังวัดกลางนาประชากรส่วนใหญ่มี
การศึกษาในระดับประถมศึกษาคิดเป็นร้อยละ
43
ตาราง 5 การนับถือศาสนา

ชุมชนหลังวัดกลางนาประชากรส่วนใหญ่นับถือ
ศาสนาพุทธ คิดเป็นร้อยละ 92.7 นอกนั้นไม่ได้
ระบุ
ตาราง 6 รายได้ของคนในชุมชน

ชุมชนหลังวัดกลางนาประชากรส่วนใหญ่มี
รายได้อยู่ในช่วง 0-5000 บาท คิดเป็นร้อยละ
53.6
ตาราง 7 รายจ่ายของคนในชุมชน

ชุมชนหลังวัดกลางนาประชากรส่วนใหญ่มี
รายจ่ายอยู่ในช่วง 0-5000 บาท คิดเป็นร้อยละ
76.8
ตาราง 8 อาชีพหลัก ของคนในชุมชน

ชุมชนหลังวัดกลางนาประชากรส่วนใหญ่ซึ่ง
เป็นเด็กไม่ได้ประกอบอาชีพ คิดเป็นร้อยละ
42.4 และรองลงมาคือประกรที่ประกอบอาชีพ
ส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพรับจ้าง คิดเป็นร้อย
ละ 41.1
ตาราง 9 อาชีพเสริม ของคนในชุมชน

คนในชุมชนส่วนใหญ่ร้อยละ 92ไม่มีอาชีพเสริม
ตาราง 10 โรคประจำตัวของคนในชุมชน

โรคประจำตัว ของคนในชุมชนหลังวัดกลางนา
ได้แก่ หอบหืด ความดันโลหิต เบาหวาน ภูมิแพ้
หัวใจ อื่น ๆ
3.1.3 ตารางที่ 11 สถานะภาพครอบครัวใน
ชุมชน

คนในชุมชนแยกกันอยู่หรือหย่าร้างประมาณ
ร้อยละ 16.2
3.1.4 ข้อมูลความขัดแย้งหรือการทะเลาะกันใน
ครัวเรือน (ตารางที่ 12)

คนในชุมชนหลังวัดกลางนาร้อยละ 24 ทะเลาะ
กันอาทิตย์ละ1-2 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 35.5
3.1.5 จำนวนข้อมูลผู้ว่างงานในครัวเรือน
(ตารางที่ 13)

ในครัวเรือนในชุมชนส่วนใหญ่ไม่มีคนว่างงาน
คิดเป็นร้อยละ 87.1 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.6 ข้อมูลจำนวนผู้พิการในครัวเรือน
(ตารางที่ 14)

มีอยู่ประมาณ 1 ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็นร้อย
ละ 3.2 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.7 ข้อมูลจำนวนผู้ติดสุราในครัวเรือน
(ตารางที่ 15)

มีผู้ติดสุรา 1 คน คิดเป็นร้อยละ 12.9 ของ
ครัวเรือนทั้งหมด
3.1.8 ข้อมูลจำนวนผู้ติดบุหรี่ในครัวเรือน
(ตารางที่ 16)

มีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คนคิดเป็นร้อยละ 12.9
ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.9 ข้อมูลการเล่นการพนันในครัวเรือน
ประกอบด้วย การเล่นการพนันของสมาชิกใน
ครัวเรือน และข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือน
ที่เล่นการพนัน
ข้อมูลการเล่นพนันของสมาชิกในครัวเรือน
(ตารางที่ 17)

มีเล่นการพนันคิดเป็นร้อยละ 3.2 ของครัวเรือน
ทั้งหมด
ข้อมูลจำนวนสมาชิกที่เล่นการพนันในครัวเรือน
(ตารางที่ 18)

มีผู้เล่นการพนัน 1 คน ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ
3.2 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.10 ข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของ
สมาชิกในครัวเรือน ประกอบด้วย ข้อมูลการซื้อ
สลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกในครัวเรือน
ข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล และข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลาก
กินแบ่งรัฐบาล
ข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกใน
ครัวเรือน (ตารางที่ 19)

มีผู้ซื้อกลากกินแบ่งคิดเป็นร้อยละ 74.2 ของครัว
เรื่อนทั้งหมด
ข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล (ตารางที่ 20)

ร้อยละ 64.5 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล ส่วนใหญ่จะซื้อประมาณ 1 คนใน
ครัวเรือน
ข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล
(ตารางที่ 21)

ส่วนใหญ่ใช้เงินซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลเดือนละ
200 บาท
3.1.11 ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายของ
ครัวเรือน ประกอบด้วย ค่าอาหาร ค่าเช่าบ้าน
หรือผ่านบ้าน ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ค่า
การศึกษาบุตร ค่าเดินทาง ค่าเครื่องใช้ใน
ครัวเรือน ค่าเครื่องใช้ส่วนตัว และค่า
รักษาพยาบาล
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าอาหารของครัวเรือน (ตารางที่ 22)

ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 1
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านของครัวเรือน
(ตารางที่ 23)

ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 0
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
น้ำ ค่าไฟ และค่าโทรศัพท์ของครัวเรือน
(ตารางที่ 24)

ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ
อันดับ 2
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
การศึกษาของบุตร (ตารางที่ 25)

ค่าเล่าเรียนบุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ
อันดับ 0
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เดินทาง (ตารางที่ 26)

ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้
ความสำคัญอันดับ 0
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
ของใช้ในครัวเรือน (เช่น สบู่ แชมพู ผงซักฟอก
เครื่องใช้ไฟฟ้า ฯลฯ) (ตารางที่ 27)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่ แชมพู ผงซักฟอก
เครื่องใช้ไฟฟ้า มีความสำคัญอันดับ 4
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เครื่องใช้ส่วนตัว (เช่น เสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้า
ฯลฯ) (ตารางที่ 28)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัวให้
ความสำคัญอันดับ 5
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
รักษาพยาบาล (ตารางที่ 29)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้
ความสำคัญอันดับ 6
3.1.12 ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน
ประกอบด้วย ข้อมูลการออมเงิน และข้อมูล
จำนวนเงินออม
ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน (ตารางที่ 30)

มีการออมเงินร้อยละ 45.2 ของครัวเรือนทั้งหมด
ข้อมูลจำนวนเงินออมในครัวเรือน (ตารางที่ 31)

ร้อยละ 51.6 ของครัวเรือนไม่มีเงินออม
3.1.13 ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน
ประกอบด้วย ข้อมูลการมีหนี้สิน และข้อมูล
จำนวนหนี้สิน
ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน (ตารางที่ 32)

ร้อยละ 38.7 ของครัวเรือนมีหนี้สิน
ข้อมูลจำนวนหนี้สินในครัวเรือน (ตารางที่ 33)

ร้อยละ 61.3 ของครัวเรือนไม่มีหนี้สิน
3.1.14 ข้อมูลการทำรายรับ – รายจ่าย
(ตารางที่ 34)

มีการทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย 1 ครัวเรือน คิดเป็น
ร้อยละ 3.2 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.2 ส่วนที่ 2 ข้อมูลด้านที่อยู่อาศัย
3.2.1 ภูมิลำเนาเดิม
ต่างจังหวัดได้แก่
1. ชัยภูมิ จำนวน 3 ครัวเรือน
2. สุพรรณบุรี จำนวน 1 ครัวเรือน
3. สุรินทร์ จำนวน 4 ครัวเรือน
4. ชลบุรี จำนวน 1 ครัวเรือน
18
5. นครสวรรค์ จำนวน 1 ครัวเรือน
6. นครราชสีมา จำนวน 1 ครัวเรือน
7. กาฬสินธุ์ จำนวน 1 ครัวเรือน
8. พิษณุโลก จำนวน 1 ครัวเรือน
9. ร้อยเอ็ด จำนวน 3 ครัวเรือน
10. อุบลราชธานี จำนวน 1 ครัวเรือน
11 มหาสารคาม จำนวน 2 ครัวเรือน
กรุงเทพฯและปริมณฑลได้แก่
1. บุคโล จำนวน 1 ครัวเรือน
2. กรุงเทพฯ จำนวน 6 ครัวเรือน
3. ราษฎร์บูรณะ จำนวน 1 ครัวเรือน
4. สมุทรปราการ จำนวน 1 ครัวเรือน
5. ปทุมธานี จำนวน 1 ครัวเรือน
3.2.2 ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในชุมชน
(ตารางที่ 35)

อาศัยอยู่ในชุมชนในช่วง 2-27 ปี ส่วนใหญ่
อาศัยอยู่ประมาณ 14 ปี
3.2.3 การครอบครองที่อยู่อาศัย ประกอบด้วย
ข้อมูลการครอบครองที่อยู่อาศัย และข้อมูลด้าน
จำนวนพื้นที่อยู่อาศัย
การครอบครองที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 36)

 

ที่พักอาศัยส่วนใหญ่เป็นเจ้าของร้อยละ 54.8
จำนวนพื้นที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 37)

ส่วนใหญ่มีพื้นที่อยู่อาศัยประมาณ 30 ตรว.
3.2.4 ลักษณะของที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 38)

ส่วนใหญ่ที่อยู่อาศัยเป็นแบบบ้านเดี่ยวชั้นเดียว
ร้อยละ 48.4
3.2.5 บริเวณที่อยู่อาศัยของท่านมีความปลอดภัย
ในชีวิตและทรัพย์สินหรือไม่ (ตารางที่ 39)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 83.9 เห็นว่ามีความปลอดภัยใน
ระดับปานกลาง
3.2.6 ครัวเรือนของท่านถูกรบกวนจากภาวะ
ต่าง ๆ หรือไม่
ถูกรบกวนจากขยะ (ตารางที่ 40)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 87.1 เห็นว่าถูกรบกวนจากขยะ
ในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากน้ำเน่าเสีย (ตารางที่ 41)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 90.3 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำ
เสียในระดับมาก
ถูกรบกวนจากน้ำท่วม (ตารางที่ 42)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.5 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำ
ท่วมในระดับมาก
ถูกรบกวนจากเสียงดัง (ตารางที่ 43)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 80.6 เห็นว่าถูกรบกวนจาก
เสียงดังในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากการจราจรติดขัด (ตารางที่ 44)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.5 เห็นว่าถูกรบกวนจาก
จราจรติดขัดะในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากฝุ่นควันและก๊าซพิษ (ตารางที่ 45)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.5 เห็นว่าถูกรบกวนจากฝุ่น
ควันและก๊าซพิษในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากด้านอื่น ๆ (ตารางที่ 46)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 96.8 ไม่ตอบว่าถูกรบกวนจาก
สิ่งอื่นๆ
3.2.7 ในรอบปีที่ผานมาครัวเรือนของท่านได้รับ
การช่วยเหลือหรือการสนับสนุน ด้านใดบ้างและ
จากหน่วยงานใด (เช่น) ค่าเล่าเรียนบุตร การ
ส่งเสริมอาชีพ การพ่นหมอกควันกำจัดยุง
(ตารางที่ 47)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.2 ได้รับความช่วยเหลือจาก
หน่วยงานต่างๆ
สิ่งที่ได้รับการสนับสนุน มีการพ่นหมอกควัน
กำจัดยุงลาย
ความต้องการการสนับสนุน
1. น้ำท่วม, ถนน, ท่อระบายน้ำ
จำนวน 31 ราย
3.3 ส่วนที่ 3 ข้อมูลด้านการเป็นสมาชิกกลุ่มหรือ
การร่วมทำกิจกรรมที่ได้รับการส่งเสริม
3.3.1 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านสุขภาพ
กิจกรรมออกกำลังกายผู้สูงอายุ (ตารางที่ 48)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.5 เข้าร่วมกิจกรรมสุขภาพ
เยาวชนรักกีฬา (ตารางที่ 49)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71 เข้าร่วมกิจกรรมเยาวชนรัก
กีฬา
เต้นแอโรบิค (ตารางที่ 50)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.5 เข้าร่วมกิจกรรมเต้น
แอโรบิค
งดสูบบุหรี่ (ตารางที่ 51)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 51.6 เข้าร่วมกิจกรรมงดสูบ
บุหรี่
ต่อต้านยาเสพติด (ตารางที่ 52)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.5 เข้าร่วมกิจกรรมต่อต้าน
ยาเสพติด
ป้องกันอุบัติเหตุ (ตารางที่ 53)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 61.3 เข้าร่วมกิจกรรมป้องกัน
อุบัติเหตุ
ควบคุมเบาหวาน (ตารางที่ 54)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 87.1 เข้าร่วมกิจกรรมควบคุม
เบาหวาน
ควบคุมความดันโลหิต (ตารางที่ 55)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรมควบคุม
ความดันโลหิต
ควบคุมไข้เลือดออก (ตารางที่ 56)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 96.8 เข้าร่วมกิจกรรมควบคุม
ไข้เลือดออก
ตรวจมะเร็งปากมดลูก (ตารางที่ 57)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรมตรวจ
มะเร็งปากมดลูก
ตรวจมะเร็งเต้านม (ตารางที่ 58)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 96.8 เข้าร่วมกิจกรรมควบคุม
มะเร็งเต้านม
3.3.2 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านอาชีพ
ฝึกอาชีพเสริม (ตารางที่ 59)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.5 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมฝึก
อาชีพเสริม
ส่งเสริมการท่องเที่ยว (ตารางที่ 60)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 96.8 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ส่งเสริมการท่องเที่ยว
ส่งเสริมรายได้เด็ก (ตารางที่ 61)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 54.8 เข้าร่วมกิจกรรมเสริมราย
เด็ก
กิจกรรมชีวิตพอเพียง (ตารางที่ 62)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 96.8 เข้าร่วมกิจกรรมชีวิต
พอเพียง
กลุ่มแม่บ้าน (ตารางที่ 63)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
แม่บ้าน
OTOP (ตารางที่ 64)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.5 เข้าร่วมกิจกรรม OTOP
3.3.3 ข้อมูลด้านการออมทรัพย์
การทำบัญชีครัวเรือน (ตารางที่ 65)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 22.6 เข้าร่วมทำบัญชีครัวเรือน
กองทุนหมู่บ้าน (ตารางที่ 66)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 83.9 เข้าร่วมกิจกรรมกองทุน
หมู่บ้าน
กลุ่มณาปนกิจ (ตารางที่ 67)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.5 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
กลุ่มณาปนกิจ
กลุ่มออมทรัพย์ (ตารางที่ 68)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 80.6 เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มออม
ทรัพย์
กองทุนอาชีพ (ตารางที่ 69)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 64.5 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
กองทุนอาชีพ
ร้านค้าชุมชน (ตารางที่ 70)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 87.1 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ร้านค้าชุมชน
ออมทรัพย์อื่นๆ (ตารางที่ 71)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 96.8 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมออม
ทรัพย์อื่นๆ
3.3.4 ข้อมูลด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
อนุรักษ์ศิลปะ (ตารางที่ 72)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
อนุรักษ์ศิลปะ
การทำบุญตักบาตร (ตารางที่ 73)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มออม
ทรัพย์
วันปีใหม่สงกรานต์ (ตารางที่ 74)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 96.8 เข้าร่วมกิจกรรมปีใหม่
สงกรานต์
การส่งเสริมศิลปะ (ตารางที่ 75)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 90.3 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
ส่งเสริมศิลปะ
ศาสนพิธี (ตารางที่ 76)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรมศาสนพิธี
พิธีอื่นๆ (ตารางที่ 77)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 87.1 ไม่ตอบว่าเข้าร่วมพิธี
อื่น ๆ หรือไม่
3.3.5 ข้อมูลด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม
ป้องกันยาเสพติด (ตารางที่ 78)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 96.8 เข้าร่วมกิจกรรมป้องกัน
ยาเสพติด
กลุ่มผู้สูงอายุ (ตารางที่ 79)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 83.9 เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
ผู้สูงอายุ
กิจกรรมเยาวชน (ตารางที่ 80)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.2 เข้าร่วมกิจกรรมเยาวชน
ป้องกันขโมย (ตารางที่ 81)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 54.8 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ป้องกันขโมย
กิจกรรมห่วงใยวัย70 (ตารางที่ 82)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.5 เข้าร่วมกิจกรรมห่วงใยวัย
70
ส่งเสริมสถาบันครอบครัว (ตารางที่ 83

ส่วนใหญ่ร้อยละ 87.1 เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริม
สถาบันครอบครัว
กิจกรรมสงเคราะห็ผู้ด้อยโอกาส(ตารางที่ 84)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 80.6 เข้าร่วมกิจกรรมส่งเคระห์
ผู้ด้อยโอกาส/ผู้พิการ
เลี้ยงดูผู้พิการ (ตารางที่ 85)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 64.5 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมเลี้ยง
ดูผู้พิการ
กองทุนพัฒนาชุมชน (ตารางที่ 86)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.2 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
กองทุนพัฒนาชุมชน
กองทุนผู้สูงอายุ (ตารางที่ 87)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71 เข้าร่วมกิจกรรมกองทุน
ผู้สูงอายุ
3.3.6 ข้อมูลด้านการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อม
ระวังคุณภาพน้ำ (ตารางที่ 87)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 90.3 เข้าร่วมกิจกรรมเฝ้าระวัง
คุณภาพน้ำ
ชุมชนน่าอยู่ (ตารางที่ 88)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรมชุมชนน่า
อยู่
เก็บขยะในชุมชน (ตารางที่ 89)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
เก็บขยะในชุมชน
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (ตารางที่ 90)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ขุดลอกคูคลอง (ตารางที่ 91)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมขุด
ลอกคูคลอง
ปลูกต้นไม้ (ตารางที่ 92)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
ปลูกต้นไม้
ซ่อมแซมสาธารณูปโภค (ตารางที่ 99)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 87.1 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
ซ่อมแซมสาธารณูปโภค
ทำความสะอาด (ตารางที่ 100)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมทำ
ความสะอาด
ทิ้งขยะในถัง (ตารางที่ 101)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมทิ้ง
ขยะในถัง
3.3.7 ข้อมูลด้านการเมืองการปกครอง
รณรงค์เลือกตั้ง (ตารางที่ 102)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 96.8 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
รณรงค์เลือกตั้ง
อบรมความรู้การเมือง (ตารางที่ 103)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 96.8 เข้าร่วมกิจกรรมอบรม
ความรู้การเมือง

 

 

สรุปข้อมูลจากการสำรวจโดยแบบสอบถามระหว่างวันที่ …..................
      สำรวจโดยใช้แบบสอบถามจากครัวเรือนทั้งหมด 31 ครัวเรือนคิดเป็น 60 เปอร์เซนต์ของ
ครัวเรือนทั้งหมดในชุมชน ครัวเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนนี้มีสมาชิกประมาณ 3-4 คนต่อครัวเรื่อน
ชุมชนหลังวัดกลางนาประชากรประกอบด้วยเพศชาย ร้อยละ 45.7 เพศหญิงร้อยละ 47 และไม่ตอบร้อยละ
7.3 ชุมชนหลังวัดกลางนาประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง 0-10 ปี คิดเป็นร้อยละ 21.2 มีประชากรที่
อยู่ในวัยชรา คิดเป็นร้อยละ 3.9 ของประชากรทั้งหมด ชุมชนหลังวัดกลางนาประชากรส่วนใหญ่มี
การศึกษาในระดับประถมศึกษาคิดเป็นร้อยละ 43 ชุมชนหลังวัดกลางนาประชากรส่วนใหญ่นับถือ
ศาสนาพุทธ คิดเป็นร้อยละ 92.7 นอกนั้นไม่ได้ระบุ ชุมชนหลังวัดกลางนาประชากรส่วนใหญ่มีรายได้อยู่
ในช่วง 0-5000 บาท คิดเป็นร้อยละ 53.6 ชุมชนหลังวัดกลางนาประชากรส่วนใหญ่มีรายจ่ายอยู่ในช่วง 0-
5000 บาท คิดเป็นร้อยละ 76.8 ชุมชนหลังวัดกลางนาประชากรส่วนใหญ่ซึ่งเป็นเด็กไม่ได้ประกอบอาชีพ
คิดเป็นร้อยละ 42.4 และรองลงมาคือประกรที่ประกอบอาชีพส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพรับจ้าง คิดเป็น
ร้อยละ 41.1 คนในชุมชนส่วนใหญ่ร้อยละ 92ไม่มีอาชีพเสริม โรคประจำตัว ของคนในชุมชนหลังวัด
กลางนา ได้แก่ หอบหืด ความดันโลหิต เบาหวาน ภูมิแพ้ หัวใจ อื่น ๆ คนในชุมชนแยกกันอยู่หรือหย่า
ร้างประมาณ ร้อยละ 16.2 คนในชุมชนหลังวัดกลางนาร้อยละ 24 ทะเลาะกันอาทิตย์ละ1-2 ครั้ง คิดเป็น
ร้อยละ 35.5 ในครัวเรือนในชุมชนส่วนใหญ่ไม่มีคนว่างงาน คิดเป็นร้อยละ 87.1 ของครัวเรือนทั้งหมด
มีอยู่ประมาณ 1 ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็นร้อยละ 3.2 ของครัวเรือนทั้งหมด มีผู้ติดสุรา 1 คน คิดเป็นร้อย
ละ 12.9 ของครัวเรือนทั้งหมด มีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คนคิดเป็นร้อยละ 12.9 ของครัวเรือนทั้งหมด
มีเล่นการพนันคิดเป็นร้อยละ 3.2 ของครัวเรือนทั้งหมด มีผู้เล่นการพนัน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.2 ของ
ครัวเรือนทั้งหมด มีผู้ซื้อกลากกินแบ่งคิดเป็นร้อยละ 74.2 ของครัวเรื่อนทั้งหมด ร้อยละ 64.5 ของ
ครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล ส่วนใหญ่จะซื้อประมาณ 1 คนในครัวเรือน ส่วนใหญ่ใช้เงินซื้อ
สลากกินแบ่งรัฐบาลเดือนละ 200 บาท ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 1 ค่า
สาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 2 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่ แชมพู ผงซักฟอก
เครื่องใช้ไฟฟ้า มีความสำคัญอันดับ 4 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัวให้ความสำคัญอันดับ 5
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้ความสำคัญอันดับ 6 ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 0 ค่าเล่าเรียนบุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 0 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็น
ค่าใช้จ่ายที่ให้ความสำคัญอันดับ 0 มีการออมเงินร้อยละ 45.2 ของครัวเรือนทั้งหมด ร้อยละ 51.6 ของ
ครัวเรือนไม่มีเงินออม ร้อยละ 38.7 ของครัวเรือนมีหนี้สิน ร้อยละ 61.3 ของครัวเรือนไม่มีหนี้สิน มีการ
ทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย 1 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 3.2 ของครัวเรือนทั้งหมด

      ด้านที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมของครัวเรือน คนในชุมชนมีภูมิลำเนาเดิม ต่างจังหวัดได้แก่
ชัยภูมิ สุพรรณบุรี สุรินทร์ ชลบุรี นครสวรรค์ นครราชสีมา กาฬสินธุ์ พิษณุโลก ร้อยเอ็ด อุบลราชธานี
มหาสารคาม กรุงเทพฯและปริมณฑล ได้แก่ บุคโล ราษฎร์บูรณะ กรุงเทพฯ สมุทรปราการ ปทุมธานี
อาศัยอยู่ในชุมชนในช่วง 2-27 ปี ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ประมาณ 14 ปี ที่พักอาศัยส่วนใหญ่เป็นเจ้าของร้อย
ละ 54.8 ส่วนใหญ่มีพื้นที่อยู่อาศัยประมาณ 30 ตรว. ส่วนใหญ่ที่อยู่อาศัยเป็นแบบบ้านเดี่ยวชั้นเดียวร้อย
ละ 48.4 ส่วนใหญ่ร้อยละ 83.9 เห็นว่ามีความปลอดภัยในระดับปานกลาง ส่วนใหญ่ร้อยละ 87.1 เห็นว่า
ถูกรบกวนจากขยะในระดับปานกลาง ส่วนใหญ่ร้อยละ 90.3 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำเสียในระดับมาก
ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.5 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำท่วมในระดับมาก ส่วนใหญ่ร้อยละ 80.6 เห็นว่าถูกรบกวน
จากเสียงดังในระดับน้อย ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.5 เห็นว่าถูกรบกวนจากจราจรติดขัดะในระดับน้อย ส่วน
ใหญ่ร้อยละ 93.5 เห็นว่าถูกรบกวนจากฝุ่นควันและก๊าซพิษในระดับน้อย ส่วนใหญ่ร้อยละ 96.8 ไม่ตอบ
ว่าถูกรบกวนจากสิ่งอื่นๆ ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.2 ได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆ สิ่งที่ได้รับการ
สนับสนุน มีการพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย ความต้องการการสนับสนุน น้ำท่วม ถนน ท่อระบายน้ำ

      ในด้านการเข้าร่วมกิจกรรมในชุมชน ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.5 เข้าร่วมกิจกรรมสุขภาพ ส่วนใหญ่
ร้อยละ 71 เข้าร่วมกิจกรรมเยาวชนรักกีฬา ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.5 เข้าร่วมกิจกรรมเต้น แอโรบิค ส่วน
ใหญ่ร้อยละ 51.6 เข้าร่วมกิจกรรมงดสูบบุหรี่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.5 เข้าร่วมกิจกรรมต่อต้านยาเสพติด
ส่วนใหญ่ร้อยละ 61.3 เข้าร่วมกิจกรรมป้องกันอุบัติเหตุ ส่วนใหญ่ร้อยละ 87.1 เข้าร่วมกิจกรรมควบคุม
เบาหวาน ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรมควบคุมความดันโลหิต ส่วนใหญ่ร้อยละ 96.8 เข้าร่วม
กิจกรรมควบคุมไข้เลือดออก ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรมตรวจมะเร็งปากมดลูก ส่วนใหญ่ร้อย
ละ 96.8 เข้าร่วมกิจกรรมควบคุมมะเร็งเต้านม ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.5 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมฝึกอาชีพเสริม
ส่วนใหญ่ร้อยละ 96.8 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว ส่วนใหญ่ร้อยละ 54.8 เข้าร่วมกิจกรรม
เสริมรายเด็ก ส่วนใหญ่ร้อยละ 96.8 เข้าร่วมกิจกรรมชีวิตพอเพียง ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรม
กลุ่มแม่บ้าน ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.5 เข้าร่วมกิจกรรม OTOP ส่วนใหญ่ร้อยละ 22.6 เข้าร่วมทำบัญชี
ครัวเรือน ส่วนใหญ่ร้อยละ 83.9 เข้าร่วมกิจกรรมกองทุนหมู่บ้าน ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.5 ตอบว่าไม่มี
กิจกรรมกลุ่มณาปนกิจ ส่วนใหญ่ร้อยละ 80.6 เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์ ส่วนใหญ่ร้อยละ 64.5
ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกองทุนอาชีพ ส่วนใหญ่ร้อยละ 87.1 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมร้านค้าชุมชน ส่วนใหญ่
ร้อยละ 96.8 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมออมทรัพย์อื่นๆ ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มอนุรักษ์
ศิลปะ ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์ ส่วนใหญ่ร้อยละ 96.8 เข้าร่วมกิจกรรมปี
ใหม่สงกรานต์ ส่วนใหญ่ร้อยละ 90.3 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมศิลปะ ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 เข้า
ร่วมกิจกรรมศาสนพิธี ส่วนใหญ่ร้อยละ 87.1 ไม่ตอบว่าเข้าร่วมพิธีอื่น ๆ หรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 96.8
เข้าร่วมกิจกรรมป้องกันอยาเสพติด ส่วนใหญ่ร้อยละ 83.9 เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่ร้อย
ละ 74.2 เข้าร่วมกิจกรรมเยาวชน ส่วนใหญ่ร้อยละ 54.8 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมป้องกันขโมย ส่วนใหญ่ร้อย
ละ 93.5 เข้าร่วมกิจกรรมห่วงใยวัย70 ส่วนใหญ่ร้อยละ 87.1 เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมสถาบันครอบครัว
ส่วนใหญ่ร้อยละ 80.6 เข้าร่วมกิจกรรมส่งเคระห์ผู้ด้อยโอกาส/ผู้พิการ ส่วนใหญ่ร้อยละ 64.5 ตอบว่าไม่มี
กิจกรรมเลี้ยงดูผู้พิการ ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.2 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกองทุนพัฒนาชุมชน ส่วนใหญ่ร้อยละ
71 เข้าร่วมกิจกรรมกองทุนผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่ร้อยละ 90.3 เข้าร่วมกิจกรรมเฝ้าระวังคุณภาพน้ำ ส่วน
ใหญ่ร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรมชุมชนน่าอยู่
ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมเก็บขยะในชุมชน ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าเข้าร่วม
กิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมขุดลอกคูคลอง ส่วนใหญ่ร้อย
ละ 100 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้ ส่วนใหญ่ร้อยละ 87.1 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมซ่อมแซม
สาธารณูปโภค ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมทำความสะอาด ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบ
ว่าเข้าร่วมกิจกรรมทิ้งขยะในถัง ส่วนใหญ่ร้อยละ 96.8 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์เลือกตั้ง ส่วนใหญ่
ร้อยละ 96.8 เข้าร่วมกิจกรรมอบรมความรู้การเมือง