ชุมชนหมู่ที่ 6 แขวงทุ่งครุ เขตทุ่งครุ จังหวัด กรุงเทพมหานครฯ
1. ข้อมูลพื้นฐานของชุมชน
1.1 ประวัติและความเป็นมาของชุมชน
      ชุมชนทุ่งครุหมู่ 6 เป็นชุมชนที่ได้ก่อตั้งขึ้นมานานแล้วซึ่งคนในชุมชน เป็นกลุ่มคนที่อพยพ
มาจากตัวเมืองกรุงเทพมหานคร ในสมัยพลตรีจำลอง ศรีเมืองเป็นผู้ว่าสมัยที่ 1 ซึ่งแต่ก่อนนั้นเป็น
ชุมชนที่ไม่ได้แบ่งแยกอาณาเขตยังเป็นชื่อชุมชนของชุมชนทุ่งครุอยู่ โดยมีวัดทุ่งครุเป็นสถานที่
สำคัญของชุมชน ในสมัยก่อนนั้นคนในชุมชนมีประมาณ 30 ครัวเรือน มีอาชีพทำนา ต่อมาเกิด
ปัญหาจึงเปลี่ยนอาชีพมาเป็นการปลูกส้ม ที่รู้จักกันดีในนาม “ส้มบางมด” หลังจากนั้นต้องเปลี่ยน
อาชีพอีกเนื่องจากว่าเกิดปัญหาน้ำเค็มและน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมใกล้เคียง กอรปกับการ
กว้านซื้อที่ดินของนายทุน ทำให้ชาวบ้านต้องตัดสินใจขายสวนส้มที่เป็นอาชีพที่มีอยู่เดิม บาง
ครอบครัวก็ต้องอพยพไปอยู่ที่อื่น ต่อมาเมื่อกรุงเทพฯ เจริญได้มีกลุ่มคนจากภาคเหนือและภาค
อีสานอพยพมาอยู่ในชุมชน
เริ่มก่อตั้งในปี 2450 หรือประมาณ 100 ปีมาแล้ว ประกาศเป็นชุมชนเมื่อปี พ.ศ. 2536
กลุ่มคนในชุมชนดั้งเดิมจะเป็นคนในพื้นที่ที่อยู่มาก่อนนานแล้วประมาณ 10% ที่เหลือ 90% เป็นคน
ที่อพยพมาจากภาคเหนือและภาคอีสาน
1.2 โครงสร้างพื้นฐานชุมชนเริ่มเข้าไปพัฒนาเมื่อปี 2535 โดยมีการพัฒนาดังนี้
      - สร้างถนนในชุมชน
      - มีไฟฟ้าเกิดขึ้นในชุมชน
      - การสร้างถนนเป็นถนนคอนกรีต
1.3 สภาพปัจจุบันประชากรทั้งหมด 1845 คน ชาย 1035 .คน หญิง. 810
      คนในหมู่บ้าน/ชุมชนมีครัวเรือน 328 ครอบครัว มีบ้าน 264 หลังคาเรือน
1.4 วัฒนธรรม/ประเพณี/ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในอดีต-ปัจจุบัน วัฒนธรรมและกิจกรรมในชุมชนที่ยัง
      ปรากฏให้เห็นในปัจจุบัน คือ งานสงกรานต์รดน้ำดำหัวผู้ใหญ่ที่เป็นคณะกรรมการในชุมชนงาน
ทำบุญวันปีใหม่โดยจะจัดงานที่ลานรวมของคนในชุมชน งานวันเด็ก

1.5 ปัญหาสำคัญภายในชุมชนมีดังนี้
      1. ปัญหาน้ำเสีย
      2.ปัญหายาเสพติดภายในชุมชน
      3.ปัญหาอาชญากรรม เช่น ลักทรัพย์ กระชากกระเป๋า ขโมยขึ้นบ้าน
1.6 การทำงานร่วมกับหน่วยงานภายนอกชุมชนทั้งภาครัฐและเอกชน
      1. การทำงานร่วมกับสำนักงานเขตทุ่งครุ
      2. การทำงานร่วมกับสาธารณะสุขในเรื่องการให้บริการด้ายสุขภาพ
      3. การทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ตำรวจในการรักษาความปลอดภัยในชุมชน
1.7 แผนที่ชุมชน

1

1.8 ภาพสภาพแวดล้อมของชุมชน

23

2. ข้อมูลแบบสัมภาษณ์ของคณะกรรมการชุมชน
ชื่อชุมชน ชุมชนหมู่ 6 ทุ่งครุ
ชื่อผู้ให้สัมภาษณ์ นายสมพล โพธิ์ทอง ตำแหน่ง/หน้าที่ ประธานชุมชน
    1. ที่ตั้งของชุมชน 37 ม.4 แขวงบางมด เขตทุ่งครุ กรุงเทพฯ
    2. อาณาเขตติดต่อ
      - ทิศเหนือติดกับ ชุมชนวัดด่านขตราษฎร์บูรณะ
      - ทิศตะวันออกติดกับ
      - ทิศใต้ติดกับ
      - ทิศตะวันตกติดกับ
    3. คณะกรรมการชุมชนมีบทบาทในการพัฒนาหรือการปกครองชุมชนอย่างไรบ้าง
      3.1 การพัฒนาชุมชน
      3.2 ให้ความอนุเคราะห์ช่วยเหลือชุมชน แจ้งให้เขตทราบเมื่อชุมชนมีปัญหา
      3.3 ดูแล รักษาความปลอดภัยของผู้อาศัยอยู่ในชุมชน อาชญากรรม สุขอนามัยส่วนใหญ่จะได้รับการร้องเรียนจากชุมชน
    4. ภายในชุมชนมีสถานที่สำคัญอะไรบ้างและมีความเป็นมาอย่างไร
      โรงเรียนวัดทุ่งครุ (ผึ่งสายอนุสรณ์)
    5. ชุมชนมีกฏระเบียบหรือข้อบังคับในการอยู่ร่วมกันภายในชุมชนอย่างไรบ้าง
      ไม่มีกฏระเบียบ จะอาศัยความสัมพันธ์ของคนในชุมชน เป็นกรอบหรือกติกา ในการอยู่ร่วมกัน
    6. ชุมชนมีนโยบายหรือแผนในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง
      ยังไม่มีการร่างกฎการอยู่ร่วมกัน เพราะชุมชนยังอยู่ร่วมกันอย่างปกติสุข
    7. ในชุมชนมีปัญหาอะไรบ้าง
      - ปัญหาด้านสังคม
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหายาเสพติด, ปัญหาลักเล็กขโมยน้อย, ปัญหา
วิ่งราว, ปัญหาทะเลาะกัน, ปัญหาการหย่าร้าง, ปัญหาผู้สูงอายุถูกทอดทิ้ง
      - ปัญหาด้านเศรษฐกิจ
        มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -

        ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
        น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาว่างงาน, ปัญหาหนี้ในระบบ, ปัญหาการ
ขาดโอกาสในการประกอบอาชีพใหม่ ๆ, ปัญหาการขาดโอกาสในการพัฒนาฝีมือ, ปัญหาขาดตลาด
สำหรับขายผลิตภัณฑ์, ปัญหารายได้น้อย, ปัญหาการขาดแหล่งทุนสำหรับกู้ยืม
      - ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
          ชุมชนหมู่ 6 ทุ่งครุ ไม่มีปัญหาทางด้านโครงสร้างพื้นฐาน
      - ปัญหาด้านสารธารณสุข
          มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
          ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
          น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ขาดแคลนสถานที่ออกกำลังกาย, ปัญหาสุขภาพ
          ของผู้สูงอายุ, ปัญหาโรคไม่ติดต่อ เช่น มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม, ปัญหาการติดสุรา, ปัญหา
          การติดบุหรี่, ปัญหาอุบัติเหตุจากการจราจรบนท้องถนน
      - ปัญหาด้านการศึกษา
          มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
          ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
          น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการขาดโอกาสในการศึกษา, ปัญหา
          การศึกษาในระบบโรงเรียนยังขาดแคลนงบประมาณหรือทุนสนับสนุนการศึกษา
      - ปัญหาด้านศาสนา
          ชุมชนหมู่ 6 ทุ่งครุ ไม่มีปัญหาทางด้านศาสนา
      - ปัญหาด้านประเพณีและวัฒนธรรม
          ชุมชนหมู่ 6 ทุ่งครุ ไม่มีปัญหาทางด้านประเพณีและวัฒนธรรม
      - ปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
          มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
          ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาน้ำเน่าเสีย, ปัญหาขยะมูลฝอย, ปัญหา
      การขาดการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ
          น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาชุมชนแออัด

      ชนขาดการมีส่วนร่วมในการเลือกตั้ง,
          บุคลากรทางการเมืองในท้องถิ่นขาดความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่, การขาดแคลนวัสดุ
อุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน
    8. จงเรียงลำดับความสำคัญของปัญหาที่ชุมชนต้องแก้ไขเร่งด่วนมากที่สุด เพราะอะไร
      8.1 ปัญหาเรื่องปากท้อง เพราะชาวบ้านขาดรายได้
      8.2 ปัญหายาเสพติด
      8.3 ปัญหาสิ่งแวดล้อม
    9. ในชุมชนมีกลุ่มกิจกรรมอะไรบ้างที่ทางราชการและเอกชนเข้ามาส่งเสริม
      - ด้านสุขภาพ
          ไม่มีกิจกรรม
      - ด้านอาชีพ
          ไม่มีกิจกรรม
      - ด้านการออมทรัพย์
          ไม่มีกิจกรรม
      - ด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
          ไม่มีกิจกรรม
      - ด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม
          ไม่มีกิจกรรม
      - ด้านการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อม
          ไม่มีกิจกรรม
      - ด้านการเมือง
          ไม่มีกิจกรรม
      - การปกครอง
          ไม่มีกิจกรรม

    10. ชุมชนมีโครงการในการพัฒนาชุมชนอะไรบ้างและแต่ละโครงการมีกิจกรรมอย่างไร
    11. คนดีและเก่งที่เป็นกำลังสำคัญในชุมชน
          - ด้านการทำอาหาร
            ขนมไทย
            การทำอาหารคาวหวาน นางเพียร, นางบุญธรรม, นางผึม, นางรัตน์
          - ด้านการช่าง
            ผู้รับเหมา นายแดง จิตภิรมย์, นายนิคม, นายยูร
          - ด้านการเกษตร
          - ด้านศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม (ทุกศาสนาที่มีอยู่ในชุมชน)
            ผู้นำในการทำศาสนพิธีของศาสนา นายวิเชียร เลิศหมื่น, นายจำลอง สมใจ
          - ด้านการแพทย์แผนไทย
             การใช้สมุนไพรรักษาโรค พรทิพย์ เทพบูชา (หมอพื้นบ้านสมุนไพร 10ปี)
          - ด้านการประดิษฐ์
          - ด้านอื่น ๆ
    12. ในชุมชนมีจุดอ่อนจุดแข็งอะไรบ้าง
          จุดแข็ง - กิจกรรมที่สร้างให้เกิดความสามัคคี
                    - ความสามัคคีของคนในชุมชน
                    - คณะกรรมการที่เข้มแข็ง
                    - การติดต่อประสานงานกับหน่วยงานภายนอก
                    - ความร่วมมือของคนในชุมชน
          จุดอ่อน - ปัญหายาเสพติด
                    - ขาดความร่วมมือจากผู้ติดยา
    13. รายชื่อคณะกรรมการหมู่บ้าน
          -
    14. รายชื่อพัฒนาชุมชน (อช.)
          -


    15. รายชื่ออาสาสาธารณประจำชุมชน (อส.ม)
          1. นางลัดดา หลามทอง
          2. ทองเจือ แจ่มจำรัส
          3. สำรวล
    16. ในชุมชนมีสิ่งที่ทำให้สมาชิกในชุมชนมีความภาคภูมิใจอะไรบ้างเพราะอะไร
          ความสามัคคีที่มีอยู่ในชุมชน ชาวบ้านให้ความร่วมมือในการทำงานและศรัทธาในผู้นำชุมชน
    17. ชุมชนมีความต้องการหรือความคาดหวังในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง
          ต้องการให้ชุมชนปลอดยาเสพติด จะได้ลดความกังวลและเดือดร้อนลงไปจากชุมชน

    3. ข้อมูลแบบสอบถามของชุมชน
    3.1. ส่วนที่ 1 ข้อมูลด้านประชากรของ
    สมาชิกในครัวเรือน
    3.1.1 ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนของชุมชน
    ประกอบด้วย ข้อมูลรวมของสมาชิกใน
    ครัวเรือน ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็น
    เพศชาย และข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็น
    เพศหญิง
    ตารางที่ 1 แสดงจำนวนสมาชิกในครัวเรือน

                       

    ครัวเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนนี้มีสมาชิก                            
    ประมาณ 3 -5 คนต่อครัวเรือน                                    

    3.1.2 ข้อมูลส่วนบุคคลของสมาชิกใน                            
    ครัวเรือนทั้งหมด                                                      
    ตารางที่ 2 ร้อยละของเพศชายและเพศหญิง

                     

    ประชากรประกอบด้วยเพศชาย ร้อยละ 48.2
    เพศหญิงร้อยละ 51.8

ตาราง 3 ร้อยละของอายุประชากรในชุมชน

    ชุมชนหมู่ 6 ทุ่งครุ ประชากรส่วนใหญ่มีอายุ
    อยู่ในช่วง 21-30 ปี และช่วง 51-60 ปี

ตาราง 4 ระดับการศึกษา

    ชุมชนหมู่ 6 ทุ่งครุ ประชากรส่วนใหญ่มี
    การศึกษาในระดับประถมศึกษา

ตาราง 5 การนับถือศาสนา

    ชุมชนหมู่ 6 ทุ่งครุ ประชากรส่วนใหญ่นับถือ
    ศาสนาพุทธ
ตาราง 6 รายได้ของคนในชุมชน

    ชุมชนหมู่ 6 ทุ่งครุ ประชากรส่วนใหญ่ไม่
    ระบุรายได้
ตาราง 7 รายจ่ายของคนในชุมชน

    ชุมชนหมู่ 6 ทุ่งครุ ประชากรส่วนใหญ่ไม่
    ระบุรายจ่าย
ตาราง 8 อาชีพหลัก ของคนในชุมชน             

   

     ชุมชนหมู่ 6 ทุ่งครุ ประชากรส่วนใหญ่
     ประกอบอาชีพหลักคือ รับจ้าง
ตาราง 9 อาชีพเสริม ของคนในชุมชน

    คนในชุมชนส่วนใหญ่ไม่มีอาชีพเสริม
ตาราง 10 โรคประจำตัวของคนในชุมชน

    โรคประจำตัว ของคนในชุมชนหมู่ 6 ทุ่งครุ
    ได้แก่ ความดันโลหิต
3.1.3 ตารางที่ 11 สถานะภาพครอบครัวในชุมชน

     คนในชุมชนอยู่ด้วยกันประมาณ ร้อยละ 72.7
3.1.4 ข้อมูลความขัดแย้งหรือการทะเลาะกันในครัวเรือน (ตารางที่ 12)

    คนในชุมชนร้อยละ 48.5 ไม่ทะเลาะกัน
3.1.5 จำนวนข้อมูลผู้ว่างงานในครัวเรือน
(ตารางที่ 13)

    ในครัวเรือนในชุมชนส่วนใหญ่มีคนว่างงาน
    ประมาณ 2 คน
3.1.6 ข้อมูลจำนวนผู้พิการในครัวเรือน(ตารางที่ 14)

    มีอยู่ประมาณ 10 ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็น
    ร้อยละ 15.2 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.7 ข้อมูลจำนวนผู้ติดสุราในครัวเรือน
(ตารางที่ 15)

ส่วนใหญ่ไม่มีผู้ติดสุรา คิดเป็นร้อยละ 69.7
ของครัวเรือนทั้งหมด
    3.1.8 ข้อมูลจำนวนผู้ติดบุหรี่ในครัวเรือน
(ตารางที่ 16)

มีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คนคิดเป็นร้อยละ27.3 ของครัวเรือนทั้งหมด
    3.1.9 ข้อมูลการเล่นการพนันในครัวเรือน
ประกอบด้วย การเล่นการพนันของสมาชิกในครัวเรือน และข้อมูลจำนวนสมาชิกใน
ครัวเรือนที่เล่นการพนัน
ข้อมูลการเล่นพนันของสมาชิกในครัวเรือน
(ตารางที่ 17)

    ร้อยละ 16.7 ของครัวเรือนทั้งหมด เล่นการพนัน
    ข้อมูลจำนวนสมาชิกที่เล่นการพนันในครัวเรือน (ตารางที่ 18)

มีผู้เล่นการพนัน 2-4 คน 10 ครอบครัว คิด
เป็นร้อยละ 15.1 ของครัวเรือนทั้งหมด

    3.1.10ข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล
ของสมาชิกในครัวเรือน ประกอบด้วย ข้อมูล
การซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกใน
ครัวเรือน ข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่
ซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล และข้อมูลรายจ่ายใน
การซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิก
ในครัวเรือน (ตารางที่ 19)

ร้อยละ 53.0 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลาก
กินแบ่งรัฐบาล
ข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลาก
กินแบ่งรัฐบาล (ตารางที่ 20)

ร้อยละ 53.0 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลาก
กินแบ่งรัฐบาล ส่วนใหญ่จะซื่อประมาณ 1
คนในครอบครัว
ข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล
(ตารางที่ 21)

ส่วนใหญ่ใช้เงินซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลเดือน
ละ 200 และ 500 บาท
    3.1.11 ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่าย
ของครัวเรือน ประกอบด้วย ค่าอาหาร ค่าเช่า
บ้านหรือผ่านบ้าน ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์
ค่าการศึกษาบุตร ค่าเดินทาง ค่าเครื่องใช้ใน
ครัวเรือน ค่าเครื่องใช้ส่วนตัว และค่า
รักษาพยาบาล
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าอาหารของครัวเรือน (ตารางที่ 22)

ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 1
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านของครัวเรือน
(ตารางที่ 23)

ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 8
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าน้ำ ค่าไฟ และค่าโทรศัพท์ของครัวเรือน
(ตารางที่ 24)

ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 2

ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าการศึกษาของบุตร (ตารางที่ 25)

ค่าเล่าเรียนบุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ
อันดับ 5
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าเดินทาง (ตารางที่ 26)

ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้
ความสำคัญอันดับ 7
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าของใช้ในครัวเรือน (เช่น สบู่ แชมพู
ผงซักฟอก เครื่องใช้ไฟฟ้า ฯลฯ)
(ตารางที่ 27)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่ แชมพู ผงซักฟอก
เครื่องใช้ไฟฟ้า มีความสำคัญอันดับ 3
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าเครื่องใช้ส่วนตัว (เช่น เสื้อผ้า กระเป๋า
รองเท้า ฯลฯ) (ตารางที่ 28)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัวให้
ความสำคัญอันดับ 6
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่ารักษาพยาบาล (ตารางที่ 29)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้
ความสำคัญอันดับ 8
3.1.12ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน
ประกอบด้วย ข้อมูลการออมเงิน และ
ข้อมูลจำนวนเงินออม
ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน (ตารางที่ 30)

มีการออมเงินร้อยละ 28.8 ของครัวเรือน
ทั้งหมด
ข้อมูลจำนวนเงินออมในครัวเรือน
(ตารางที่ 34)

ร้อยละ63.6 ของครัวเรือนไม่มีเงินออม
3.1.13 ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน
ประกอบด้วย ข้อมูลการมีหนี้สิน และข้อมูล
จำนวนหนี้สิน
ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน (ตารางที่ 32)

ร้อยละ 45.5 ของครัวเรือนมีหนี้สิน

ข้อมูลจำนวนหนี้สินในครัวเรือน
(ตารางที่ 36)

ร้อยละ45.5 ของครัวเรือนไม่มีหนี้สิน
3.1.14ข้อมูลการทำรายรับ – รายจ่าย
(ตารางที่ 34)

ร้อยละ 84.8 ไม่มีครอบครัวใดที่ทำบัญชี
รายรับ-รายจ่าย
3.2. ส่วนที่ 2 ข้อมูลด้านที่อยู่อาศัย
3.2.1 ภูมิลำเนาเดิม
3.2.2 ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในชุมชน

(ตารางที่ 35)

อาศัยอยู่ในชุมชนส่วนใหญ่อาศัยอยู่ประมาณ
11-20 ปี
3.2.3 การครอบครองที่อยู่อาศัย
ประกอบด้วยข้อมูลการครอบครองที่อยู่อาศัย
และข้อมูลด้านจำนวนพื้นที่อยู่อาศัย
การครอบครองที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 36)

ส่วนใหญ่เป็นผู้เช่าร้อยละ 51.5
จำนวนพื้นที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 37)

ชุมชนส่วนใหญ่มีพื้นที่อาศัยอยู่ประมาณ
26-50 ตรว.
3.2.4 ลักษณะของที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 41)

ส่วนใหญ่อาศัยแบบบ้านเดี่ยวชั้นเดียวร้อยละ
48.5
3.2.5 บริเวณที่อยู่อาศัยของท่านมีความ
ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินหรือไม่
(ตารางที่ 39)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.2 เห็นว่ามีความ
ปลอดภัยในระดับปานกลาง
3.2.6 ครัวเรือนของท่านถูกรบกวนจากภาวะ
ต่าง ๆ หรือไม่
ถูกรบกวนจากขยะ (ตารางที่ 40)

ชุมชนส่วนใหญ่มีพื้นที่อาศัยอยู่ประมาณ
26-50 ตรว.
3.2.4 ลักษณะของที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 41)

ส่วนใหญ่อาศัยแบบบ้านเดี่ยวชั้นเดียวร้อยละ
48.5
3.2.5 บริเวณที่อยู่อาศัยของท่านมีความ
ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินหรือไม่
(ตารางที่ 39)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.2 เห็นว่ามีความ
ปลอดภัยในระดับปานกลาง
3.2.6 ครัวเรือนของท่านถูกรบกวนจากภาวะ
ต่าง ๆ หรือไม่
ถูกรบกวนจากขยะ (ตารางที่ 40)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 30.3 เห็นว่าถูกรบกวนจาก
ขยะในระดับน้อยและปานกลาง
ถูกรบกวนจากน้ำเน่าเสีย (ตารางที่ 44)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 34.8 เห็นว่าถูกรบกวนจาก
น้ำเสียในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากน้ำท่วม (ตารางที่ 42)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 31.8 เห็นว่าไม่ถูกรบกวน
จากน้ำท่วม
ถูกรบกวนจากเสียงดัง (ตารางที่ 43)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 37.9 เห็นว่าถูกรบกวนจาก
เสียงดังในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากการจราจรติดขัด (ตารางที่ 44)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 25.8 เห็นว่าถูกรบกวนจาก
จราจรติดขัดในระดับปานกลางและน้อย
ถูกรบกวนจากฝุ่นควันและก๊าซพิษ
(ตารางที่ 45)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 25.8 เห็นว่าถูกรบกวนจาก
ฝุ่นควันในระดับปานกลางและน้อย
ถูกรบกวนจากด้านอื่น ๆ (ตารางที่ 46)

ส่วนใหญ่ ไม่ตอบว่าถูกรบกวนจากสิ่งอื่นๆ
3.2.7 ในรอบปีที่ผ่านมาครัวเรือนของท่าน
ได้รับการช่วยเหลือหรือการสนับสนุน ด้าน
ใดบ้างและจากหน่วยงานใด (เช่น) ค่าเล่า
เรียนบุตร การส่งเสริมอาชีพ การพ่นหมอก
ควันกำจัดยุง) (ตารางที่ 47

ส่วนใหญ่ร้อยละ 47.0 ได้รับความช่วยเหลือ
จากหน่วยงานต่างๆ
3.3 ส่วนที่ 3 ข้อมูลด้านการเป็นสมาชิกกลุ่ม
หรือการร่วมทำกิจกรรมที่ได้รับการส่งเสริม
3.3.1 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านสุขภาพ
กิจกรรมออกกำลังกายผู้สูงอายุ (ตารางที่ 48)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 69.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมสุขภาพ
เยาวชนรักกีฬา (ตารางที่ 49)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
เยาวชนรักกีฬา
เต้นแอโรบิค (ตารางที่ 50)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
เต้นแอโรบิค
งดสูบบุหรี่ (ตารางที่ 51)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
งดสูบบุหรี่
ต่อต้านยาเสพติด (ตารางที่ 52)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
ต่อต้านยาเสพติด
ป้องกันอุบัติเหตุ (ตารางที่ 53)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
ป้องกันอุบัติเหตุ
ควบคุมเบาหวาน (ตารางที่ 54)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.2 ไม่ ระบุการมีกิจกรรม
ควบคุมเบาหวาน
ควบคุมความดันโลหิต (ตารางที่ 55)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.2 ไม่ ระบุการมีกิจกรรม
ควบคุมความดันโลหิต
ควบคุมไข้เลือดออก (ตารางที่ 56)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.2 ไม่ ระบุการมีกิจกรรม
ควบคุมไข้เลือดออก
ตรวจมะเร็งปากมดลูก (ตารางที่ 57)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
ตรวจมะเร็งปากมดลูก
ตรวจมะเร็งเต้านม (ตารางที่ 58)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
ควบคุมมะเร็งเต้านม

3.3.2 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านอาชีพ
ฝึกอาชีพเสริม (ตารางที่ 59)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
ฝึกอาชีพเสริม
ส่งเสริมการท่องเที่ยว (ตารางที่ 60)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
ส่งเสริมการท่องเที่ยว
ส่งเสริมรายได้เด็ก (ตารางที่ 61)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
เสริมรายเด็ก

กิจกรรมชีวิตพอเพียง (ตารางที่ 62)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.2ไม่ระบุการมีกิจกรรม
ชีวิตพอเพียง
กลุ่มแม่บ้าน (ตารางที่ 63)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
กลุ่มแม่บ้าน
OTOP (ตารางที่ 64)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
OTOP

3.3.3 ข้อมูลด้านการออมทรัพย์
การทำบัญชีครัวเรือน (ตารางที่ 65)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการทำบัญชี
ครัวเรือน
กองทุนหมู่บ้าน (ตารางที่ 66)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
กองทุนหมู่บ้าน
กลุ่มณาปนกิจ (ตารางที่ 67)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
กลุ่มฌาปนกิจ

กลุ่มออมทรัพย์ (ตารางที่ 68)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
กลุ่มออมทรัพย์
กองทุนอาชีพ (ตารางที่ 69)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
กองทุนอาชีพ
ร้านค้าชุมชน (ตารางที่ 70)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
ร้านค้าชุมชน

ออมทรัพย์อื่นๆ (ตารางที่ 71)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 97.0 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
ออมทรัพย์อื่นๆในชุมชน
3.3.4 ข้อมูลด้สนศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
อนุรักษ์ศิลปะ (ตารางที่ 72)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 77.3 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
กลุ่มอนุรักษ์ศิลปะ
การทำบุญตักบาตร (ตารางที่ 73)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
ทำบุญตักบาตร
วันปีใหม่สงกรานต์ (ตารางที่ 74)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมปีใหม่สงกรานต์
การส่งเสริมศิลปะ (ตารางที่ 75)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.2 ไม่ ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมส่งเสริมศิลปะ
ศาสนพิธี (ตารางที่ 76)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุการมี
กิจกรรมศาสนพิธี
พิธีอื่นๆ (ตารางที่ 77)

ร้อยละ 100.0 ไม่ตอบว่าเข้าร่วมพิธีอื่น
3.3.5 ข้อมูลด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม
ป้องกันยาเสพติด (ตารางที่ 78)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
ป้องกันยาเสพติด
กลุ่มผู้สูงอายุ (ตารางที่ 79)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
กลุ่มผู้สูงอายุ
กิจกรรมเยาวชน (ตารางที่ 80)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
เยาวชน
ป้องกันขโมย (ตารางที่ 81)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
ป้องกันขโมย
กิจกรรมห่วงใยวัย70 (ตารางที่ 82)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.2 ไม่มีกิจกรรมห่วงใย
วัย70
ส่งเสริมสถาบันครอบครัว (ตารางที่ 83)

ส่วนใหญ่ร้อยละ75.7 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
ส่งเสริมสถาบันครอบครัว
กิจกรรมสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส(ตารางที่ 84)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 75.7 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
สงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส/ผู้พิการ
กองทุนพัฒนาชุมชน (ตารางที่ 85)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
กองทุนพัฒนาชุมชน
กองทุนผู้สูงอายุ (ตารางที่ 86)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกองทุนผู้สูงอายุ
3.3.6 ข้อมูลด้านการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อม
ระวังคุณภาพน้ำ (ตารางที่ 87)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
ระวังคุณภาพน้ำ
ชุมชนน่าอยู่ (ตารางที่ 88)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
ชุมชนน่าอยู่

เก็บขยะในชุมชน (ตารางที่ 89)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
เก็บขยะในชุมชน
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (ตารางที่ 90)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ขุดลอกคูคลอง (ตารางที่ 91)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
ขุดลอกคูคลอง

ปลูกต้นไม้ (ตารางที่ 92)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมปลูกต้นไม้
ซ่อมแซมสาธารณูปโภค (ตารางที่ 93)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 75.8 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
ซ่อมแซมสาธารณูปโภค
ทำความสะอาด (ตารางที่ 94)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 75.8 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
ทำความสะอาด
ทิ้งขยะในถัง (ตารางที่ 95)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 75.8 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมทิ้งขยะในถัง
อนุรักษ์อื่นๆ (ตารางที่ 96)

ร้อยละ 100.0ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
อนุรักษ์อื่นๆ
3.3.7 ข้อมูลด้านการเมืองการปกครอง
รณรงค์เลือกตั้ง (ตารางที่ 97)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุการกิจกรรม
รณรงค์การเลือกตั้ง
อบรมความรู้การเมือง (ตารางที่ 98)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
อบรมความรู้การเมือง

 

สรุปข้อมูลจากการสำรวจโดยแบบสอบถามระหว่างวันที่ …..................

    สำรวจโดยใช้แบบสอบถามจากครัวเรือนทั้งหมด 25 ครัวเรือนคิดเป็น 60 เปอร์เซนต์ของ
ครัวเรือนทั้งหมดในชุมชน ครัวเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนนี้มีสมาชิกประมาณ 3 -5 คนต่อครัวเรือน
ประชากรประกอบด้วยเพศชายร้อยละ 48.2 เพศหญิงร้อยละ 51.8 ประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่
ในช่วง 21-30 ปี การศึกษาในระดับประถมศึกษานับถือศาสนาพุทธไม่ระบุรายได้ประชากรส่วน
ใหญ่ไม่ระบุรายจ่าย ประกอบอาชีพหลักคือ รับจ้าง คนในชุมชนส่วนใหญ่ไม่มีอาชีพเสริมโรค
ประจำตัว ของคนในชุมชนหมู่ 6 ทุ่งครุ ได้แก่ ความดันโลหิต คนในชุมชนอยู่ด้วยกันประมาณ ร้อย
ละ 72.7 คนในชุมชนร้อยละ 48.5 ไม่ทะเลาะกัน ส่วนใหญ่มีคนว่างงาน ประมาณ 2 คน มีอยู่
ประมาณ 10 ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็นร้อยละ 15.2 ของครัวเรือนทั้งหมด ไม่มีผู้ติดสุรา คิดเป็น
ร้อยละ 69.7 ของครัวเรือนทั้งหมด มีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คนคิดเป็นร้อยละ 27.3 ของครัวเรือน
ทั้งหมด ร้อยละ 16.7 ของครัวเรือนทั้งหมดเล่นการพนันมีผู้เล่นการพนัน 2-4 คน 10 ครอบครัว คิด
เป็นร้อยละ 15.1 ของครัวเรือนทั้งหมด ร้อยละ 53.0 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล
ส่วนใหญ่จะซื้อประมาณ 1 คนในครอบครัว ส่วนใหญ่ใช้เงินซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลเดือนละ 200
และ 500 บาท ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 1 ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อน
บ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 8 ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 2
ค่าเล่าเรียนบุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 5 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้
ความสำคัญอันดับ 7 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่ แชมพู ผงซักฟอก เครื่องใช้ไฟฟ้า มีความสำคัญอันดับ 3
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัวให้ความสำคัญอันดับ 6 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้
ความสำคัญอันดับ 8 มีการออมเงินร้อยละ 28.8 ของครัวเรือนทั้งหมด ร้อยละ63.6 ของครัวเรือน
ไม่มีเงินออม ร้อยละ 45.5 ของครัวเรือนมีหนี้สิน ร้อยละ45.5 ของครัวเรือนไม่มีหนี้สิน ร้อยละ
84.8 ไม่มีครอบครัวใดที่ทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย

    ด้านที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมของครัวเรือน คนในชุมชนส่วนใหญ่อาศัยอยู่ประมาณ
11-20 ปี ส่วนใหญ่เป็นผู้เช่าร้อยละ 51.5 มีพื้นที่อาศัยอยู่ประมาณ 26-50 ตรว.อาศัยแบบบ้านเดี่ยว
ชั้นเดียวร้อยละ 48.5 ร้อยละ 71.2 เห็นว่ามีความปลอดภัยในระดับปานกลาง ร้อยละ 30.3 เห็นว่า
ถูกรบกวนจากขยะในระดับน้อยและปานกลาง ร้อยละ 34.8 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำเสียในระดับ
ปานกลาง ร้อยละ 31.8 เห็นว่าไม่ถูกรบกวนจากน้ำท่วม ร้อยละ 37.9 เห็นว่าถูกรบกวนจากเสียงดัง
ในระดับปานกลาง ร้อยละ 25.8 เห็นว่าถูกรบกวนจากจราจรติดขัดในระดับปานกลางและน้อย
ร้อยละ 25.8 เห็นว่าถูกรบกวนจากฝุ่นควันในระดับปานกลางและน้อย ส่วนใหญ่ไม่ตอบว่าถูก
รบกวนจากสิ่งอื่นๆ ร้อยละ 47.0 ได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆ ร้อยละ 69.

    ในด้านการเข้าร่วมกิจกรรมไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมสุขภาพ ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการมี
กิจกรรมเยาวชนรักกีฬา ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรมเต้นแอโรบิค ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการมี
กิจกรรมงดสูบบุหรี่ ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรมต่อต้านยาเสพติด ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการ
มีกิจกรรมป้องกันอุบัติเหตุ ร้อยละ 71.2 ไม่ ระบุการมีกิจกรรมควบคุมเบาหวาน ร้อยละ 71.2 ไม่
ระบุการมีกิจกรรมควบคุมความดันโลหิต ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรมควบคุมไข้เลือดออก
ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรมตรวจมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรม
ควบคุมมะเร็งเต้านม ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรมฝึกอาชีพเสริม ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการมี
กิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรมเสริมรายเด็ก ร้อยละ 71.2 ไม่
ระบุการมีกิจกรรมชีวิตพอเพียง ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรมกลุ่มแม่บ้าน ร้อยละ 71.2 ไม่
ระบุการมีกิจกรรมOTOP ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการทำบัญชีครัวเรือน ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการมี
กิจกรรมกองทุนหมู่บ้าน ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรมกลุ่มฌาปนกิจ ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุ
การมีกิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์ ร้อยละ 71.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรมกองทุนอาชีพ ร้อยละ 71.2 ไม่
ระบุการมีกิจกรรมร้านค้าชุมชนร้อยละ 97.0 ไม่ระบุการมีกิจกรรมออมทรัพย์อื่นๆในชุมชน ร้อย
ละ 77.3 ไม่ระบุการมีกิจกรรมกลุ่มอนุรักษ์ศิลปะ ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรมทำบุญตัก
บาตร ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมปีใหม่สงกรานต์ ร้อยละ 74.2 ไม่ ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
ส่งเสริมศิลปะ ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรมศาสนพิธี ร้อยละ 100.0 ไม่ตอบว่าเข้าร่วมพิธี
อื่น ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรมป้องกันยาเสพติด ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรมกลุ่ม
ผู้สูงอายุ ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรมเยาวชน ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรมป้องกัน
ขโมย ร้อยละ 74.2 ไม่มีกิจกรรมห่วงใยวัย70 ร้อยละ75.7 ไม่ระบุการมีกิจกรรมส่งเสริมสถาบัน
ครอบครัว ร้อยละ 75.7 ไม่ระบุการมีกิจกรรมสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส/ผู้พิการ ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุ
การมีกิจกรรมกองทุนพัฒนาชุมชน ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกองทุนผู้สูงอายุ ร้อย
ละ 74.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรมระวังคุณภาพน้ำ ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรมชุมชนน่าอยู่
ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรมเก็บขยะในชุมชน ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรมอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อม ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรมขุดลอกคูคลอง ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมปลูกต้นไม้ ร้อยละ 75.8 ไม่ระบุการมีกิจกรรมซ่อมแซมสาธารณูปโภค ร้อยละ 75.8 ไม่
ระบุการมีกิจกรรมทำความสะอาด ร้อยละ 75.8 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมทิ้งขยะในถังร้อยละ
100.0 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมอนุรักษ์อื่นๆ ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุการกิจกรรมรณรงค์การ
เลือกตั้ง ร้อยละ 74.2 ไม่ระบุการมีกิจกรรมอบรมความรู้การเมือง