ชุมชน ประชาอุทิศ 90 แขวง ทุ่งครุ เขตทุ่งครุ จังหวัด กรุงเทพมหานครฯ
1. ข้อมูลพื้นฐานของชุมชน
1.1 ประวัติและความเป็นมาของชุมชน
ที่มาของชื่อชุมชนบ้าน/ชุมชนอาคารสงเคราะห์ข้าราชการและลูกจ้างกรุงเทพมหานคร
หรือที่เรียกกันของคนในชุมชนว่า ชุมชนประชาอุทิศ 90 ชุมชนแห่งนี้แตกต่างจากชมชนอื่นๆ คือมี
ลักษณะขงที่อยู่อาศัยเป็นห้องพัก หรือที่เรียกกันว่าแฟลต เดิมพื้นที่แห่งนี้เป็นกองขยะหรือที่ทิ้งขยะ
ของเขตทุ่งครุ แต่ในปี 2532 ได้เปลี่ยนเป็นพื้นที่ก่อสร้างอาคารที่พักอาศัยสำหรับข้าราชการและ
ลูกจ้างของ กทม. ซึ่งมีจำนวนมากและต้องการที่พักอาศัยทางกทม.เพื่อเป็นสวัสดิการที่พักอาศัย
สำหรับข้าราชการและลูกจ้าง โดยผู้อาศัยจะต้องเป็นข้าราชการและลูกจ้างขอ กทม.เท่านั้น และมี
ข้อกำหนดว่า ข้าราชการจะต้องเป็นผู้มีตำแหน่งไม่เกิน C6 และลูกจ้างจะต้องมีเงินเดือนไม่เกิน
12,000 บาท เมื่อเกษียณอายุราชการแล้วจะต้องย้ายออกจากที่พัก แต่ในปัจจุบันกำลังมีการเรียกร้อง
ให้อยู่อาศัยได้นานกว่านั้น
แฟลตนี้สร้างเสร็จตั้งแต่ปี 2532 ละเริ่มให้คนเข้าพักในปีนั้น โดยเริ่มเรียกมีทั้งหมด 4
อาคาร เป็นตึกเล็ก แต่ละตึกจะมีห้องพักรวมทั้งสิ้น 80 ห้อง แต่ละห้อง มีขนาด กว้าง 3 เมตร ยาว 18
เมตร ภายในห้องลักษณะเป็นห้องโถงโล่ง 1 ห้อง และห้องน้ำ 1 ห้อง ปัจจุบัน แฟลตมีจำนวน
ทั้งสิ้น 9 ตึก คือ มีตึก 80 ห้อง 7 ตึก และตึก 120 ห้อง 2 ตึก ผู้ที่สามารถเข้าพักอาศัยได้จะต้องเป็น
ข้าราชการหรือลูกจ้างของกทม.เท่านั้น โดยจะตองเสียค่าบำรุงห้องพักเดือนละ 400 บาท
ในอดีตอำนาจในการดูและจัดการแฟลตอยู่ในความรับผิดชอบของกองสังคมสงเคราะห์
ข้าราชการและลูกจ้างกทม. แต่ในปี 2547 ถูกผลักดันให้เป็นชุมชนทางการของเขต
กรุงเทพมหานคร โดยมีคณะกรรมการุมชนดูและทั้งสิ้น 25 คน อยู่ในตำแหน่งวาระละ 2 ปี
การประกอบอาชีพของคนส่วนใหญ่ของชุมชนในปัจจุบัน ก็เป็นอาชีพข้าราชการลูกจ้าง
ของกรุงเทพมหานครแต่ก็มีคนในครอบครัวซึ่งสามารถนำญาติพี่น้องเข้ามาอยู่ได้ ก็จะประกอบ
อาชีพ พนักงานบริษัท และอาชีพค้าขายรองลงมา
1.2 โครงสร้างพื้นฐานชุมชนเริ่มเข้าไปพัฒนาเมื่อปี 2532 โดยมีการพัฒนาดังนี้
ไฟฟ้า น้ำประปา และ โทรศัพท์เข้าตั้งแต่เริ่มมีชุมชน นอกจากนั้นชุมชนแห่งนี้ยังมีศูนย์
เยาวชน ที่ใช้สำหรับเป็นที่ออกกำลังกายและฝึกอาชีพของเยาวชนในเขตกรุงเทพมหานครอีกด้วย
1.3 สภาพปัจจุบัน ประชากรทั้งหมด 2,127 คน ชาย 980 คน หญิง 1147 คน
ในหมู่บ้าน/ชุมชนมีครัวเรือน836 ครอบครัว มีบ้าน 816 หลังคาเรือน (ข้อมูลจาก
ข้อมูลชุมชน แขวงทุ่งครุ สำนักงานเขตทุ่งครุ)
1.4 วัฒนธรรม/ประเพณี/ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในอดีต-ปัจจุบัน
ชุมชนอาคารสงเคราะห์ข้าราชการและลูกจ้างกรุงเทพมหานคร ที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี
และคนในชุมชนให้ความสำคัญและเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าว ได้แก่ กิจกรรมวันแม่ กิจกรรมวัน
พ่อและกิจกรรมวันเด็ก
1.5 ปัญหาสำคัญภายในชุมชนมีดังนี้
1.ปัญหายาเสพติด
2. การลักขโมย
3. จำนวนห้องพักไม่เพียงพอต่อความต้องการ
1.6 การทำงานร่วมกับหน่วยงานภายนอกชุมชนทั้งภาครัฐและเอกชน
1) การทำงานร่วมกับสำนักงานเขตทุ่งครุ ในการดำเนินงานต่างๆของชุมชน
2) การทำงานร่วมกับสาธารณสุขที่ 59 ในเรื่องสุขภาพอนามัยของคนในชุมชน
1.7 แผนที่ชุมชน
1.8 ภาพสภาพแวดล้อมของชุมชน
2. ข้อมูลแบบสัมภาษณ์ของคณะกรรมการชุมชน
ชื่อชุมชน ชุมชนอาคารสงเคราะห์ประชาอุทิศ 90
ชื่อผู้ให้สัมภาษณ์ นายธนศักดิ์ พุทธโกสา ตำแหน่ง/หน้าที่ ประธานชุมชน
1. ที่ตั้งของชุมชน ชุมชนอาคารสงค์ ซอยประชาอุทิศ 90 แขวงทุ่งครุ เขตทุ่งครุ กรุงเทพฯ
2. อาณาเขตติดต่อ
- ทิศเหนือติดกับ
- ทิศตะวันออกติดกับ
- ทิศใต้ติดกับ
- ทิศตะวันตกติดกับ
3. คณะกรรมการชุมชนมีบทบาทในการพัฒนาหรือการปกครองชุมชนอย่างไรบ้าง
3.1 ติดต่อประสานงานกับองค์กรภายนอกชุมชน แต่ไม่ฝักใฝ่พรรคการเมือง
3.2 จัดให้เกิดกิจกรรมร่วมกันระหว่างสมาชิกในชุมชน
3.3 จัดทำแผนและนโยบายพัฒนาชุมชน
3.4 ดูแลเรื่องแก้ปัญหาแต่ละกลุ่มที่เกิดขึ้นในชุมชน ความปลอดภัย
3.5 การพัฒนาสิ่งแวดล้อม
4. ภายในชุมชนมีสถานที่สำคัญอะไรบ้างและมีความเป็นมาอย่างไร
4.1 ศูนย์รับเลี้ยงเด็กก่อนวัย ประมาณ 30 คน ค่าใช้จ่ายเดือนละ 500-600 บาท
4.2 ศูนย์กีฬาเยาวชน
4.3 หอพระ
4.4 ศาลตายาย
5. ชุมชนมีกฏระเบียบหรือข้อบังคับในการอยู่ร่วมกันภายในชุมชนอย่างไรบ้าง
5.1ไม่ให้คนนอกเข้ามาคลุกคลีหลังเวลา 21.00 น.
5.2 ผู้ที่อยู่ในห้องได้จะต้องเป็น ลูก,เมีย,พ่อ,แม่ ของข้าราชการ
5.3 หลังจาก 21.00 น. ห้ามอยู่ข้างล่าง
6. ชุมชนมีนโยบายหรือแผนในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง
6.1 นำคนในชุมชนไปไหว้พระเพื่อศึกษาเรื่องธรรม ไว้พระ 9 วัดในกรุงเทพฯ
โครงการธรรมสู่ชุมชน ในโครงกาส่งเสริมคุณภาพชีวิต
6.2 พัฒนาสิ่งแวดล้อม
6.3 อาชีพเสริม, อิเลคทรอนิค
6.4 กีฬาสำหรับเยาวชน, ศิลปการเล่นกลองยาว การละเล่นพื้นบ้าน
7. ในชุมชนมีปัญหาอะไรบ้าง
- ปัญหาด้านสังคม
มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหายาเสพติด, ปัญหาลักเล็กขโมยน้อย
น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาทะเลาะกัน
- ปัญหาด้านเศรษฐกิจ
มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาหนี้นอกระบบ, ปัญหาหนี้ในระบบ
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาคนว่างงาน, ปัญหารายได้น้อย
- ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
ชุมชนอาคารสงเคราะห์ประชาอุทิศ 90 ไม่มีปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
- ปัญหาด้านสารธารณสุข
มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคที่มีสัตว์นำโรค,
ขาดแคลนสถานที่ออกกำลังกาย, ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ, ปัญหาติดสุรา, ปัญหาการติดบุหรี่
- ปัญหาด้านการศึกษา
ชุมชนอาคารสงเคราะห์ประชาอุทิศ 90 ไม่มีปัญหาด้านการศึกษา
- ปัญหาด้านศาสนา
มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ขาดความร่วมมืออุปถัมภ์ศาสนาในชุมชน
น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง -
- ปัญหาด้านประเพณีและวัฒนธรรม
ชุมชนอาคารสงเคราะห์ประชาอุทิศ 90 ไม่มีปัญหาทางด้านประเพณีและ
วัฒนธรรม
- ปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง น้ำเน่าเสีย, ปัญหาด้านการขาดการฟื้นฟูรักษา
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- ปัญหาด้านการเมืองการบริหาร
ชุมชนอาคารสงเคราะห์ประชาอุทิศ 90 ไม่มีปัญหาทางด้านการเมืองการ
บริหาร
8. จงเรียงลำดับความสำคัญของปัญหาที่ชุมชนต้องแก้ไขเร่งด่วนมากที่สุด เพราะอะไร
8.1 ฟื้นฟูรักษาสภาพแวดล้อม
8.2 ส่งเสริมวัฒนธรรม
8.3 ให้ความรู้ทางด้านการศึกษา
9. ในชุมชนมีกลุ่มกิจกรรมอะไรบ้างที่ทางราชการและเอกชนเข้ามาส่งเสริม
- ด้านสุขภาพ
มีกิจกรรมดังนี้ กิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ, กิจกรรม
ส่งเสริมเยาวชนรักกีฬา, กิจกรรมแอโรบิค, กิจกรรมรณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
- ด้านอาชีพ
ไม่มีกิจกรรมด้านอาชีพ
- ด้านการออมทรัพย์
ไม่มีกิจกรรมด้านออมทรัพย์
- ด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
มีกิจกรรม ดังนี้ การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม, กิจกรรมวันปีใหม่และวัน
สงกรานต์, การส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
- ด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม
มีกิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมเพื่อเยาวชน
- ด้านการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อม
มีกิจกรรม ดังนี้ รณรงค์ให้ทิ้งขยะในถึงขยะ
- ด้านการเมืองการปกครอง
มีกิจกรรม ดังนี้ รณรงค์ให้ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งทุก ๆ ครั้งที่มีการเลือกตั้ง
10. ชุมชนมีโครงการในการพัฒนาชุมชนอะไรบ้างและแต่ละโครงการมีกิจกรรมอย่างไร
11. คนดีและเก่งที่เป็นกำลังสำคัญในชุมชน
- ด้านการทำอาหาร
- ด้านการช่าง
- ด้านการเกษตร
- ด้านศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม (ทุกศาสนาที่มีอยู่ในชุมชน)
- ด้านการแพทย์แผนไทย
- ด้านการประดิษฐ์
- ด้านอื่น ๆ
12. ในชุมชนมีจุดอ่อนจุดแข็งอะไรบ้าง
จุดแข็ง - ความร่วมมือความสามัคคีกันภายในชุมชน 65%
จุดอ่อน - สมาชิกในชุมชนขาดความร่วมมือในการแสดงความคิดเห็น
- ความเข้าใจของคนในชุมชนยังไม่ดี
13. รายชื่อคณะกรรมการหมู่บ้าน
1. ธนศักดิ์ พุทธโกสา ตำแหน่ง ประธาน
2. ประมุข ยิ่งศรี ตำแหน่ง รองประธาน
3. ยุทธศักดิ์ บุญฤทธิ์ ตำแหน่ง กรรมการ
4. สด คงยิ่ง ตำแหน่ง กรรมการ
5. สุพัฒน์ ถุงมณี ตำแหน่ง กรรมการ
6. ชัยวุฒิ ศรีสา ตำแหน่ง กรรมการ
7. เสงี่ยม พุ่มทิม ตำแหน่ง กรรมการ
8. วาสนา ถาวรจันทร์ ตำแหน่ง กรรมการ
14. รายชื่อพัฒนาชุมชน (อช.)
15. รายชื่ออาสาสาธารณประจำชุมชน (อส.ม)
1. นายณัฐวุฒิ ปฤษณานนท์
16. ในชุมชนมีสิ่งที่ทำให้สมาชิกในชุมชนมีความภาคภูมิใจอะไรบ้างเพราะอะไร
1. มีห้องสมุดให้กับเยาวชนในชุมชน
2. มีศูนย์เด็กเล็ก
3. มีเยาชนที่น่ารัก
17. ชุมชนมีความต้องการหรือความคาดหวังในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง
1. เป็นชุมชนตัวอย่างของ กทม. ภายใน 2 ปี
3. ข้อมูลแบบสอบถามของชุมชน
3.1. ส่วนที่ 1 ข้อมูลด้านประชากรของ
สมาชิกในครัวเรือน
3.1.1 ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนของชุมชน
ประกอบด้วย ข้อมูลรวมของสมาชิกใน
ครัวเรือน ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็น
เพศชาย และข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็น
เพศหญิง
ตารางที่ 2 ร้อยละของเพศชายและเพศหญิง
ประชากรประกอบด้วยเพศชาย ร้อยละ 45.6
เพศหญิงร้อยละ 51.6และไม่ตอบร้อยละ 2.8
ตาราง 3 ร้อยละของอายุประชากรในชุมชน
ชุมชนประชาอุทิศ 90 ประชากรส่วนใหญ่มี
อายุอยู่ในช่วง 31-40 ปี
ตาราง 4 ระดับการศึกษา
ชุมชนประชาอุทิศ 90 ประชากรส่วนใหญ่มี
การศึกษาในระดับประถมศึกษา
ตาราง 5 การนับถือศาสนา
ชุมชนประชาอุทิศ 90 ประชากรส่วนใหญ่นับ
ถือศาสนาพุทธ
ตาราง 6 รายได้ของคนในชุมชน
ชุมชนประชาอุทิศ 90 ประชากรส่วนใหญ่มี
รายได้อยู่ในช่วง 0-5000 บาท
ตาราง 7 รายจ่ายของคนในชุมชน
ชุมชนประชาอุทิศ 90 ประชากรส่วนใหญ่มี
รายจ่ายอยู่ในช่วง 0-5000 บาท
ตาราง 8 อาชีพหลัก ของคนในชุมชน
ชุมชนประชาอุทิศ 90 ประชากรส่วนใหญ่
ประกอบอาชีพหลักคือ รับราชการ
ตาราง 9 อาชีพเสริม ของคนในชุมชน
คนในชุมชนร่วมใจส่วนใหญ่ไม่มีอาชีพเสริม
ตาราง 10 โรคประจำตัวของคนในชุมชน
โรคประจำตัว ของคนในชุมชนประชาอุทิศ
90 ได้แก่ เบาหวาน หัวใจ หอบ ปวดหลัง
ความดัน เม็ดเลือดขาว
3.1.3 ตารางที่ 11 สถานะภาพครอบครัวใน
ชุมชน
คนในชุมชนอยู่ด้วยกันประมาณ ร้อยละ 72.4
3.1.4 ข้อมูลความขัดแย้งหรือการทะเลาะกัน
ในครัวเรือน (ตารางที่ 12)
คนในชุมชนร้อยละ 42.1 ไม่ทะเลาะกัน
3.1.5 จำนวนข้อมูลผู้ว่างงานในครัวเรือน
(ตารางที่ 13)
ในครัวเรือนในชุมชนส่วนใหญ่มีคนว่างงาน
ประมาณ 1 คน
3.1.6 ข้อมูลจำนวนผู้พิการในครัวเรือน
(ตารางที่ 14)
มีอยู่ประมาณ 4 ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็น
ร้อยละ 5.3 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.7 ข้อมูลจำนวนผู้ติดสุราในครัวเรือน
(ตารางที่ 15)
มีผู้ติดสุรา 1-2 คนคิดเป็นร้อยละ 6.6 ของ
ครัวเรือนทั้งหมด
3.1.8 ข้อมูลจำนวนผู้ติดบุหรี่ในครัวเรือน
(ตารางที่ 16)
มีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คนคิดเป็นร้อยละ
27.6 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.9 ข้อมูลการเล่นการพนันในครัวเรือน
ประกอบด้วย การเล่นการพนันของสมาชิกใน
ครัวเรือน และข้อมูลจำนวนสมาชิกใน
ครัวเรือนที่เล่นการพนัน
ข้อมูลการเล่นพนันของสมาชิกในครัวเรือน
(ตารางที่ 17)
มีผู้เล่นการพนันจำนวน 15 คน คิดเป็นร้อย
ละ 19.7 ของครัวเรือนทั้งหมด
ข้อมูลจำนวนสมาชิกที่เล่นการพนันใน
ครัวเรือน (ตารางที่ 18)
มีผู้เล่นการพนัน 1-2 คน 42 ครอบครัว คิด
เป็นร้อยละ 55.2 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.10 ข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของ
สมาชิกในครัวเรือน ประกอบด้วย ข้อมูลการ
ซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกใน
ครัวเรือน ข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่
ซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล และข้อมูลรายจ่ายใน
การซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล
ข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิก
ในครัวเรือน (ตารางที่ 19)
ร้อยละ 59.2 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลาก
กินแบ่งรัฐบาล
ข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลาก
กินแบ่งรัฐบาล (ตารางที่ 20)
ร้อยละ 55.6 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลาก
กินแบ่งรัฐบาล ส่วนใหญ่จะซื่อประมาณ 1 -2
คนในครอบครัว
ข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล
(ตารางที่ 21)
ส่วนใหญ่ใช้เงินซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลเดือน
ละ 200 บาท
3.1.11 ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่าย
ของครัวเรือน ประกอบด้วย ค่าอาหาร ค่าเช่า
บ้านหรือผ่านบ้าน ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์
ค่าการศึกษาบุตร ค่าเดินทาง ค่าเครื่องใช้ใน
ครัวเรือน ค่าเครื่องใช้ส่วนตัว และค่า
รักษาพยาบาล
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าอาหารของครัวเรือน (ตารางที่ 22)
ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 1
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านของครัวเรือน
(ตารางที่ 23)
ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 6
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าน้ำ ค่าไฟ และค่าโทรศัพท์ของครัวเรือน
(ตารางที่ 24))
ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 4
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าการศึกษาของบุตร (ตารางที่ 25)
ค่าเล่าเรียนบุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ
อันดับ 1
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าเดินทาง (ตารางที่ 26)
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้
ความสำคัญอันดับ 3
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าของใช้ในครัวเรือน (เช่น สบู่ แชมพู
ผงซักฟอก เครื่องใช้ไฟฟ้า ฯลฯ) (ตารางที่
27)
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่ แชมพู ผงซักฟอก
เครื่องใช้ไฟฟ้า มีความสำคัญอันดับ 3
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าเครื่องใช้ส่วนตัว (เช่น เสื้อผ้า กระเป๋า
รองเท้า ฯลฯ)
(ตารางที่ 28)
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัวให้
ความสำคัญอันดับ 7
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่ารักษาพยาบาล (ตารางที่ 29)
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้
ความสำคัญอันดับ 8
3.1.12 ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน
ประกอบด้วย ข้อมูลการออมเงิน และข้อมูล
จำนวนเงินออม
ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน (ตารางที่ 30)
มีการออมเงินร้อยละ 51.3 ของครัวเรือน
ทั้งหมด
ข้อมูลจำนวนเงินออมในครัวเรือน (ตารางที่
34)
ร้อยละ 63.15 ของครัวเรือนมีเงินออม ไม่เกิน
10000 บาทต่อครัวเรือน
3.1.13 ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน
ประกอบด้วย ข้อมูลการมีหนี้สิน และข้อมูล
จำนวนหนี้สิน
ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน (ตารางที่ 32)
ร้อยละ 39 ของครัวเรือนมีหนี้สิน
ข้อมูลจำนวนหนี้สินในครัวเรือน (ตารางที่
36)
ร้อยละ 69.74 ของครัวเรือนมีหนี้สิน 10001-
50000 บาท
3.1.14 ข้อมูลการทำรายรับ รายจ่าย (ตาราง
ที่ 34)
ร้อยละ 78.9 ไม่มีครอบครัวใดที่ทำบัญชี
รายรับ-รายจ่าย
3.2. ส่วนที่ 2 ข้อมูลด้านที่อยู่อาศัย
3.2.1 ภูมิลำเนาเดิม
3.2.2 ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในชุมชน (ตารางที่
35)
อาศัยอยู่ในชุมชนส่วนใหญ่อาศัยอยู่ประมาณ
10 ปี
3.2.3 การครอบครองที่อยู่อาศัย
ประกอบด้วยข้อมูลการครอบครองที่อยู่อาศัย
และข้อมูลด้านจำนวนพื้นที่อยู่อาศัย
การครอบครองที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 36)
ส่วนใหญ่เป็นผู้เช่าร้อยละ 52.6
จำนวนพื้นที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 37)
ชุมชนส่วนใหญ่มีพื้นที่อาศัยอยู่ประมาณ 10-
20 ตรว.
3.2.4 ลักษณะของที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 41)
ส่วนใหญ่อาศัยแบบบ้านพักข้าราชการร้อยละ
67.1
3.2.5 บริเวณที่อยู่อาศัยของท่านมีความ
ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินหรือไม่
(ตารางที่ 39)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 63.2 เห็นว่ามีความ
ปลอดภัยในระดับปานกลาง
3.2.6 ครัวเรือนของท่านถูกรบกวนจากภาวะ
ต่าง ๆ หรือไม่
ถูกรบกวนจากขยะ (ตารางที่ 40)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 35.5 เห็นว่าถูกรบกวนจาก
ขยะในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากน้ำเน่าเสีย (ตารางที่ 44)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 38.2 เห็นว่าถูกรบกวนจาก
น้ำเสียในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากน้ำท่วม (ตารางที่ 42)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 38.2 เห็นว่าถูกรบกวนจาก
น้ำท่วมในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากเสียงดัง (ตารางที่ 43)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 51.3 เห็นว่าถูกรบกวนจาก
เสียงดังในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากการจราจรติดขัด (ตารางที่ 44)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 43.4 เห็นว่าถูกรบกวนจาก
จราจรติดขัดในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากฝุ่นควันและก๊าซพิษ (ตารางที่
45)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 40.8 มีปัญหาในระดับปาน
กลาง
ถูกรบกวนจากด้านอื่น ๆ (ตารางที่ 46)
ส่วนใหญ่ ไม่ตอบว่าถูกรบกวนจากสิ่งอื่นๆ
3.2.7 ในรอบปีที่ผ่านมาครัวเรือนของท่าน
ได้รับการช่วยเหลือหรือการสนับสนุน ด้าน
ใดบ้างและจากหน่วยงานใด (เช่น) ค่าเล่า
เรียนบุตร การส่งเสริมอาชีพ การพ่นหมอก
ควันกำจัดยุง) (ตารางที่ 47)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 55.3 ได้รับความช่วยเหลือ
จากหน่วยงานต่างๆ
3.3 ส่วนที่ 3 ข้อมูลด้านการเป็นสมาชิกกลุ่ม
หรือการร่วมทำกิจกรรมที่ได้รับการส่งเสริม
3.3.1 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านสุขภาพ
กิจกรรมออกกำลังกายผู้สูงอายุ (ตารางที่ 48)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 44.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมสุขภาพ
เยาวชนรักกีฬา (ตารางที่ 49)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 46.1 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมเยาวชนรักกีฬา
เต้นแอโรบิค (ตารางที่ 50)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 46 .1 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมเต้นแอโรบิค
งดสูบบุหรี่ (ตารางที่ 51)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 44.7 ไม่ระบุการ เข้าร่วม
กิจกรรมงดสูบบุหรี่
ต่อต้านยาเสพติด (ตารางที่ 52)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 44.7 ระบุการ เข้าร่วม
กิจกรรมต่อต้านยาเสพติด
ป้องกันอุบัติเหตุ (ตารางที่ 53)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 46.1 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมป้องกันอุบัติเหตุ
ควบคุมเบาหวาน (ตารางที่ 54)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 46.1ไม่ระบุการ เข้าร่วม
กิจกรรมควบคุมเบาหวาน
ควบคุมความดันโลหิต (ตารางที่ 55)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 46.1 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมควบคุมความดันโลหิต
ควบคุมไข้เลือดออก (ตารางที่ 56)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 46.1 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมควบคุมไข้เลือดออก
ตรวจมะเร็งปากมดลูก (ตารางที่ 57)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 46.1ไม่ระบุการ เข้าร่วม
กิจกรรมตรวจมะเร็งปากมดลูก
ตรวจมะเร็งเต้านม (ตารางที่ 58)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 46.1ไม่ระบุการ เข้าร่วม
กิจกรรมควบคุมมะเร็งเต้านม
3.3.2 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านอาชีพ
ฝึกอาชีพเสริม (ตารางที่ 59)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 44.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมฝึกอาชีพเสริมส่งเสริมการท่องเที่ยว (ตารางที่ 60)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 44.7 ไม่รุการเข้าร่วม
กิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว
ส่งเสริมรายได้เด็ก (ตารางที่ 61)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 44.7 ไม่ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมเสริมรายเด็ก
กิจกรรมชีวิตพอเพียง (ตารางที่ 62)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 44.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมชีวิตพอเพียง
กลุ่มแม่บ้าน (ตารางที่ 63)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 44.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกลุ่มแม่บ้าน
OTOP (ตารางที่ 64)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 44.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมOTOP
3.3.3 ข้อมูลด้านการออมทรัพย์
การทำบัญชีครัวเรือน (ตารางที่ 65)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 46.1 ตอบว่าไม่ระบุการทำ
บัญชีครัวเรือน
กองทุนหมู่บ้าน (ตารางที่ 66)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 47.4 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกองทุนหมู่บ้าน
กลุ่มณาปนกิจ (ตารางที่ 67)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 47.4 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกลุ่มฌาปนกิจ
กลุ่มออมทรัพย์ (ตารางที่ 68)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 47.4 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์
กองทุนอาชีพ (ตารางที่ 69)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 47.4 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกองทุนอาชีพ
ร้านค้าชุมชน (ตารางที่ 70)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 47.4 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมร้านค้าชุมชน
ออมทรัพย์อื่นๆ (ตารางที่ 71)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.7 ตอบว่าไม่ตอบ
3.3.4 ข้อมูลด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
การอนุรักษ์ศิลปะ (ตารางที่ 72)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 46.1 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกลุ่มอนุรักษ์ศิลปะ
การทำบุญตักบาตร (ตารางที่ 73)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 48.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์
วันปีใหม่สงกรานต์ (ตารางที่ 74)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 48.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมปีใหม่สงกรานต์
การส่งเสริมศิลปะ (ตารางที่ 75)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 48.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมส่งเสริมศิลปะ
ศาสนพิธี (ตารางที่ 76)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 48.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมศาสนพิธี
พิธีอื่นๆ (ตารางที่ 77)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.7 ไม่ตอบว่าเข้าร่วมพิธี
อื่น
3.3.5 ข้อมูลด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม
ป้องกันยาเสพติด (ตารางที่ 78)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 47.4 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมป้องกันยาเสพติด
กลุ่มผู้สูงอายุ (ตารางที่ 79)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 48.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกลุ่มผู้สูงอายุ
กิจกรรมเยาวชน (ตารางที่ 80)
ส่วนใหญ่ร้อยละ ละ 48.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมเยาวชน
ป้องกันขโมย (ตารางที่ 81)
ส่วนใหญ่ร้อยละ ละ 47.4 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมป้องกันขโมย
กิจกรรมห่วงใยวัย70 (ตารางที่ 82)
ส่วนใหญ่ร้อยละ ละ 48.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
มีกิจกรรมห่วงใยวัย70
ส่งเสริมสถาบันครอบครัว (ตารางที่ 83)
ส่วนใหญ่ร้อยละ ละ 48.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมส่งเสริมสถาบันครอบครัว
กิจกรรมสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส(ตารางที่ 84)
ส่วนใหญ่ร้อยละ ละ 47.4 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส/ผู้พิการ
กองทุนพัฒนาชุมชน (ตารางที่ 85)
ส่วนใหญ่ร้อยละ ละ 47.4 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกองทุนพัฒนาชุมชน
กองทุนผู้สูงอายุ (ตารางที่ 86)
ส่วนใหญ่ร้อยละ ละ 47.4 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกองทุนผู้สูงอายุ
3.3.6 ข้อมูลด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม
ระวังคุณภาพน้ำ (ตารางที่ 87)
ส่วนใหญ่ร้อยละ ละ 50 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมระวังคุณภาพน้ำ
ชุมชนน่าอยู่ (ตารางที่ 88)
ส่วนใหญ่ร้อยละ ละ 50 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมชุมชนน่าอยู่
เก็บขยะในชุมชน (ตารางที่ 89)
ส่วนใหญ่ร้อยละ ละ 50 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมเก็บขยะในชุมชน
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (ตารางที่ 90)
ส่วนใหญ่ร้อยละ ละ 50 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ขุดลอกคูคลอง (ตารางที่ 91)
ส่วนใหญ่ร้อยละ ละ 50 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมขุดลอกคูคลอง
ปลูกต้นไม้ (ตารางที่ 92)
ส่วนใหญ่ร้อยละ ละ 50 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมปลูกต้นไม้
ซ่อมแซมสาธารณูปโภค (ตารางที่ 93)
ส่วนใหญ่ร้อยละ ละ 50 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมซ่อมแซมสาธารณูปโภค
ทำความสะอาด (ตารางที่ 94)
ส่วนใหญ่ร้อยละ ละ 51.3 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมทำความสะอาด
ทิ้งขยะในถัง (ตารางที่ 95)
ส่วนใหญ่ร้อยละ ละ 50 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมทิ้งขยะในถัง
อนุรักษ์อื่นๆ (ตารางที่ 96)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมอนุรักษ์อื่นๆ
3.3.7 ข้อมูลด้านการเมืองการปกครอง
รณรงค์เลือกตั้ง (ตารางที่ 97)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 48.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมรณรงค์การเลือกตั้ง
อบรมความรู้การเมือง (ตารางที่ 98)
ส่วนใหญ่ร้อยละ ละ 51.3 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมอบรมความรู้การเมือง
รณรงค์อื่นๆ (ตารางที่ 99)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมทางการเมืองอื่นๆ
สรุปข้อมูลชุมชนประชาอุทิศ 90
สำรวจโดยใช้แบบสอบถามจากครัวเรือนทั้งหมด 76 ครัวเรือนคิดเป็น 60 เปอร์เซนต์ของ
ครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนครัวเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนนี้มีสมาชิกประมาณ 2-4 คนต่อครัวเรือน
ประชากรประกอบด้วยเพศชาย ร้อยละ 45.6 เพศหญิงร้อยละ 51.6และไม่ตอบร้อยละ 2.8ประชากร
ส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง 31-40 ปี มีการศึกษาในระดับประถมศึกษาประชากรส่วนใหญ่นับถือ
ศาสนาพุทธมีรายได้อยู่ในช่วง 0-5000 บาทรายจ่ายอยู่ในช่วง 0-5000 บาท ประกอบอาชีพหลักคือ
รับราชการไม่มีอาชีพเสริมโรคประจำตัว ของคนในชุมชนประชาอุทิศ 90 ได้แก่ เบาหวาน หัวใจ
หอบ ปวดหลัง ความดัน เม็ดเลือดขาวคนในชุมชนอยู่ด้วยกันประมาณ ร้อยละ 72.4คนในชุมชน
ร้อยละ 42.1 ไม่ทะเลาะกันมีคนว่างงาน ประมาณ 1 คนมีอยู่ประมาณ 4 ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็น
ร้อยละ 5.3 ของครัวเรือนทั้งหมดมีผู้ติดสุรา 1-2 คนคิดเป็นร้อยละ 6.6 ของครัวเรือนทั้งหมดมีผู้ติด
บุหรี่อย่างน้อย 1 คนคิดเป็นร้อยละ 27.6 ของครัวเรือนทั้งหมดร้อยละ 19.7 ของครัวเรือนทั้งหมด
เล่นการพนันมีผู้เล่นการพนัน 1-2 คน 42 ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 55.2 ของครัวเรือนทั้งหมดร้อย
ละ 59.2 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลร้อยละ 55.6 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลาก
กินแบ่งรัฐบาล ส่วนใหญ่จะซื่อประมาณ 1 -2คนใครอบครัวส่วนใหญ่ใช้เงินซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล
เดือนละ 200 บาท. ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 1ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อน
บ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 6ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 4ค่า
เล่าเรียนบุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 1ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้
ความสำคัญอันดับ 3ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่ แชมพู ผงซักฟอก เครื่องใช้ไฟฟ้า มีความสำคัญอันดับ 3
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัวให้ความสำคัญอันดับ 7ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้
ความสำคัญอันดับ 8มีการออมเงินร้อยละ 51.3 ของครัวเรือนทั้งหมดร้อยละ 63.15 ของครัวเรือนมี
เงินออม ไม่เกิน 10000 บาทต่อครัวเรือนร้อยละ 39 ของครัวเรือนมีหนี้สินร้อยละ 69.74 ของ
ครัวเรือนมีหนี้สิน 10001-50000 บาทร้อยละ 78.9 ไม่มีครอบครัวใดที่ทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย
ในด้านที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมของครัวเรือน คนในชุมชนส่วนใหญ่อาศัยอยู่
ประมาณ 10 ปีส่วนใหญ่เป็นผู้เช่าร้อยละ 52.6มีพื้นที่อาศัยอยู่ประมาณ 10-20 ตรว.ส่วนใหญ่อาศัย
แบบบ้านพักข้าราชการร้อยละ 67.1ร้อยละ 63.2 เห็นว่ามีความปลอดภัยในระดับปานกลางร้อยละ
35.5 เห็นว่าถูกรบกวนจากขยะในระดับน้อยร้อยละ 38.2 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำเสียในระดับน้อย
ร้อยละ 38.2 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำท่วมในระดับน้อยร้อยละ 51.3 เห็นว่าถูกรบกวนจากเสียงดัง
ในระดับปานกลางร้อยละ 43.4 เห็นว่าถูกรบกวนจากจราจรติดขัดในระดับปานกลางร้อยละ 40.8 มี
ปัญหาในระดับปานกลางไม่ตอบว่าถูกรบกวนจากสิ่งอื่นๆร้อยละ 55.3 ได้รับความช่วยเหลือจาก
หน่วยงานต่างๆ ร้อยละ 44.7
ในด้านการเข้าร่วมกิจกรรม ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมสุขภาพร้อยละ 46.1 ไม่ระบุการเข้า
ร่วมกิจกรรมเยาวชนรักกีฬาร้อยละ 46 .1 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมเต้นแอโรบิคร้อยละ 44.7 ไม่
ระบุการ เข้าร่วมกิจกรรมงดสูบบุหรี่ร้อยละ 44.7 ระบุการ เข้าร่วมกิจกรรมต่อต้านยาเสพติดร้อยละ
46.1 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมป้องกันอุบัติเหตุร้อยละ 46.1ไม่ระบุการ เข้าร่วมกิจกรรมควบคุม
เบาหวานร้อยละ 46.1 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมควบคุมความดันโลหิตร้อยละ 46.1 ไม่ระบุการ
เข้าร่วมกิจกรรมควบคุมไข้เลือดออกร้อยละ 46.1ไม่ระบุการ เข้าร่วมกิจกรรมตรวจมะเร็งปากมดลูก
ร้อยละ 46.1ไม่ระบุการ เข้าร่วมกิจกรรมควบคุมมะเร็งเต้านมร้อยละ 44.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมฝึกอาชีพเสริมร้อยละ 44.7 ไม่รุการเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวร้อยละ 44.7 ไม่
ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมรายเด็กร้อยละ 44.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมชีวิตพอเพียงร้อย
ละ 44.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มแม่บ้านร้อยละ 44.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมOTOPร้อย
ละ 46.1 ตอบว่าไม่ระบุการทำบัญชีครัวเรือนร้อยละ 47.4 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกองทุน
หมู่บ้านร้อยละ 47.4 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มฌาปนกิจร้อยละ 47.4 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์ร้อยละ 47.4 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกองทุนอาชีพร้อยละ 47.4 ไม่ระบุ
การเข้าร่วมกิจกรรมร้านค้าชุมชนร้อยละ 98.7 ตอบว่าไม่ตอบร้อยละ 46.1 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกลุ่มอนุรักษ์ศิลปะร้อยละ 48.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์ร้อยละ 48.7 ไม่
ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมปีใหม่สงกรานต์ส่วนใหญ่ร้อยละ 48.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริม
ศิลปะร้อยละ 48.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมศาสนพิธีร้อยละ 98.7 ไม่ตอบว่าเข้าร่วมพิธีอื่นร้อยละ
47.4 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมป้องกันยาเสพติดร้อยละ 48.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
ผู้สูงอายุร้อยละ 48.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมเยาวชนร้อยละ 47.4 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
ป้องกันขโมยร้อยละ 48.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมมีกิจกรรมห่วงใยวัย70ร้อยละ 48.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมส่งเสริมสถาบันครอบครัวร้อยละ 47.4 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมสงเคราะห์
ผู้ด้อยโอกาส/ผู้พิการร้อยละ 47.4 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกองทุนพัฒนาชุมชนร้อยละ 47.4 ไม่
ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกองทุนผู้สูงอายุร้อยละ50 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมระวังคุณภาพน้ำร้อย
ละ 50 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมชุมชนน่าอยู่ร้อยละ 50 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมเก็บขยะใน
ชุมชร้อยละ 50 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมร้อยละ 50 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมขุดลอกคูคลองร้อยละ 50 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้ร้อยละ 50 ไม่ระบุการเข้า
ร่วมกิจกรรมซ่อมแซมสาธารณูปโภคร้อยละ 51.3 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมทำความสะอาดร้อย
ละ 50 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมทิ้งขยะในถังร้อยละ 98.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมอนุรักษ์
อื่นๆร้อยละ 48.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์การเลือกตั้งร้อยละ ละ 51.3 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมอบรมความรู้การเมืองร้อยละ 98.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมืองอื่นๆ
|