ชุมชนคลองเก้าห้อง
ชุมชนคลองเก้าห้อง แขวงบางมด เขต ทุ่งครุ จังหวัด กรุงเทพมหานคร.
1.ข้อมูลชุมชน
1.1ประวัติความเป็นมาของชุมชน
ที่มาของชื่อชุมชนบ้าน/ชุมชนคลองเก้าห้อง มีความเป็นมามากว่า 100 ปี แต่เดิมชุมชนแห่งนี้มีชื่อ
เรียกกันว่า ชุมชนเก้าก้อง เนื่องจากเดิมบริเวณแห่งนี้เคยเป็นสถานที่กักตัวนักโทษ โดยแบ่งออกเป็นห้องขัง
จำนวน 9 ห้อง แยกออกตามสัญชาติของนักโทษแต่ละคน เช่น พม่า กัมพูชา มาเลเซีย ไทย จีน ฝรั่ง ฯลฯ
จึงเรียกกันทั่วไปว่าชุมชนเก้าห้องแต่ภายหลังพบว่าชุมชนมีคลองไหลผ่านจึงเปลี่ยนมาเรียกเป็นชุมชน
คลองเก้าห้องจนถึงปัจจุบัน
เดิมพื้นที่แห่งนี้มีชาวบ้านเป็นเจ้าของหลายคนแต่ประมาณ 40 ปีก่อน นายสมจิต โสนมัย ซึ่งเป็น
คนชุมชนวัดดอกไม้ สมุทรปราการ ได้กว้านซื้อที่ดินจากเจ้าของที่ดินเกือบทั้งหมดของชุมชน จากนั้นก็
นำมาจัดสรรแบ่งขายให้กับคนทั่วไปมาซื้อสำหรับสร้างบ้านเรือนประมาณ 30 ปีที่ผ่านมา โดยเริ่มแรกขาย
ในราคาตารางวาละ 250 บาท แต่ปัจจุบันแบ่งขายในราคา ตารางวาละ 500 บาท ซึ่งในอดีตชาวบ้านจะเลือก
สร้างบ้านเรือนอยู่บริเวณ ริมคลอง และในซอย 1-3 ของชุมชนในปัจจุบัน โดยชุมชนเริ่มแรกมีประมาณ 20
หลังคาเรือน และเมื่อ 10 ปีที่ผ่านมาก็มีคนจากที่ต่างๆเข้ามาซื้อที่ดินสำหรับสร้างบ้านจนเกิดเป็นชุมชนอย่าง
ที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน โดยมีคณะกรรมการชุมชนจำนวน 9 คน ซึ่งตั้งเป็นชุมชนทางการเมื่อ 10 ปีที่ผ่านมา
ปี 2538
การประกอบอาชีพของคนส่วนใหญ่ของชุมชนในอดีตเป็นพื้นที่ของการทำนามาตลอดจนถึงการ
จัดสรรที่ดินคนภายนอกมาอยู่มากขึ้นอาชีพก็เปลี่ยนแปลงไปในปัจจุบัน ก็เป็นอาชีพ ค้าขาย รับจ้าง และ
ข้าราชการ
1.2สภาพปัจจุบัน ประชากรทั้งหมด 595 คน ชาย 284 คน หญิง 311 คน
ในหมู่บ้าน/ชุมชนมีครัวเรือน189 ครอบครัว มีบ้าน 130 หลังคา
1.3 โครงสร้างพื้นฐานชุมชน เข้ามาในชุมชนตั้งแต่มีการจัดสรรที่ดิน คือประมาณ 30 ปีที่ผ่านมา
ได้แก่ ไฟฟ้า น้ำประปา โทรศัพท์
1.4 วัฒนธรรม/ประเพณี/ภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่คนในชุมชนให้ความสำคัญและจัดขึ้นเป็นประจำทุก
ปี และชาวบ้านให้ความร่วมมือและเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าว ไก้แก่ ประเพณีสงกรานต์ และงานวันเด็ก
กลุ่มต่างๆในชุมชน ได้แก่ มีกองทุนหมู่บ้านซึ่งอยู่ในช่วงของการเก็บเงินคืนนอกจากนั้นชุมชนแห่ง
นี้ยังมีกลุ่มสหกรณ์หรือกลุ่มออมทรัพย์ของคนในชุมชนซึ่งตั้งมานานกว่า 7 ปี โดยมีวัตถุประสงค์ให้คนใน
ชุมชนมีเงินออมและสามารถกู้ยืมเงินในอัตราดอกเบี้ยต่ำสำหรับประกอบอาชีพและใช้ในยามฉุกเฉิน
ปัจจุบันกลุ่มออมทรัพย์มีสมาชิกประมาณ 90 ราย มียอดเงินสะสม 9 แสนบาท
โดยมีระเบียบว่าสมาชิกจะต้องส่งเงินออมทุกเดือนๆละไม่ต่ำกว่า 100 บาท แต่ไม่เกิน 1,000 บาท สมาชิก
สามารถกู้เงินได้ 3 เท่าของยอดเงินออม แต่ไม่เกิน 30,000 บาท คิดอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 12 บาท/ปี
ส่งเงินกู้คืนภายใน 3 ปี
1.5ปัญหาสำคัญภายในชุมชน คือปัญหายาเสพติดและปัญหาขยะแต่ปัญหาขยะชุมชนก็สามารถ
แก้ไขได้ในระดับหนึ่งแล้ว
1.6 การทำงานรวมกับหน่วยงานภายนอกชุมชนทั้งภาครัฐและเอกชน
1) การทำงานร่วมกับสำนักงานเขตทุ่งครุ ในการดำเนินงานต่างๆของชุมชน
2) การทำงานร่วมกับสาธารณสุข ในเรื่องสุขภาพอนามัยของคนในชุมชน
1.7 แผนที่ชุมชน
1.8รูปชุมชน
2.ข้อมูลแบบสัมภาษณ์คณะกรรมการชุมชนชื่อชุมชน ชุมชนคลองเก้าห้อง
ชื่อผู้ให้สัมภาษณ์ นายบุญส่ง รุ่งเนียม ตำแหน่ง/หน้าที่ ประธานชุมชน
1. ที่ตั้งของชุมชน
2. อาณาเขตติดต่อ
- ทิศเหนือติดกับ หมู่ 5 ทุ่งครุ
- ทิศตะวันออกติดกับ หมู่ 5 ทุ่งครุ
- ทิศใต้ติดกับ หมู่ 2 สมุทรปราการ
- ทิศตะวันตกติดกับ หมู่ 5 ทุ่งครุ
3. คณะกรรมการชุมชนมีบทบาทในการพัฒนาหรือการปกครองชุมชนอย่างไรบ้าง
3.1 ช่วยกันปรึกษาหารือเรื่องของชุมชน
3.2 ประชุมทุกเดือน
3.3 ช่วยดูแลคนในชุมชน
4. ภายในชุมชนมีสถานที่สำคัญอะไรบ้างและมีความเป็นมาอย่างไร
4.1 สหกรณ์ออมทรัพย์ เครดิตยูเนียน สามาชิก 100 คน
4.2 ศูนย์เด็กเล็ก เด็ก 20 คน ครู 1 คน แม่บ้าน 1 คน อายุ 2 ขวบครึ่ง ถึง 3 ขวบครึ่ง เปิดมา
ประมาณ 10 กว่าปีแล้ว เด็กเสียเงินเดือนละ 500 บาท จ่ายค่าเช่าสถานที่เดือนละ 3000 บาท
5. ชุมชนมีกฏระเบียบหรือข้อบังคับในการอยู่ร่วมกันภายในชุมชนอย่างไรบ้าง
5.1 เวลา 3 ทุ่มให้เข้าบ้านเพื่อความสงบเรียบร้อย
6. ชุมชนมีนโยบายหรือแผนในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง
6.1 อยากให้คนในชุมชนอยู่ดีกินดี
6.2 ไม่เล่นการพนัน
6.3 ไม่มีสิ่งเสพติด
7. ในชุมชนมีปัญหาอะไรบ้าง
- ปัญหาด้านสังคม
มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหายาเสพติด
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาลักเล็กขโมยน้อย
น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาทะเลาะกัน, ปัญหาความขัดแย้งภายในชุมชน
- ปัญหาด้านเศรษฐกิจ
มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาหนี้สินในระบบ
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาหนี้นอกระบบ
น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาว่างงาน, ปัญหารายได้น้อย, ปัญหาการขาดแหล่ง ทุนสำหรับกู้ยืมประกอบอาชีพ
- ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาจราจรที่หนาแน่น
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาผิวจราจรชำรุด, ปัญหาจราจรที่มักเกิดอุบัติเหตุ,
ปัญหาอุปกรณ์ไฟฟ้าชำรุด
- ปัญหาด้านสารธารณสุข
มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ขาดแคลนอาสาสมัคร, ขาดแคลนสถานที่ออกกำลังกาย,
ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง การแพร่ระบาดของโรคที่มีสัตว์นำโรค
น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ความเสี่ยงในการเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์, ปัญหาโรคไม่ติดต่อ เช่น มะเร็ง, ปัญหาติดสุรา, ปัญหาอุบัติเหตุจราจรบนท้องถนน
- ปัญหาด้านการศึกษา
มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการขาดโอกาสในการศึกษา
น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง -
- ปัญหาด้านศาสนา
มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ขาดความร่วมมืออุปถัมภ์ศาสนา, การกำหนดบทบาท หน้าที่ของกรมศาสนา
- ปัญหาด้านประเพณีและวัฒนธรรม
ชุมชนคลองเก้าห้อง ไม่มีปัญหาทางด้านประเพณีและวัฒนธรรม
- ปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาขยะมูลฝอย
- ปัญหาด้านการเมืองการบริหาร
มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง คนในชุมชนขาดการมีส่วนร่วมในการเลือกตั้ง, บุคลากร
ทางการเมืองในท้องถิ่นขาดความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่, การขาดแคลนวัสดุอุปกรณ์ใน การ
ปฏิบัติงาน
8. จงเรียงลำดับความสำคัญของปัญหาที่ชุมชนต้องแก้ไขเร่งด่วนมากที่สุด เพราะอะไร
8.1 ปัญหายาเสพติด
8.2 ปัญหาเรื่องปากท้องของคนในชุมชน
8.3 เบี้ยยังชีพคนชรา (ได้เพียง 2 คนเท่านั้น)
9. ในชุมชนมีกลุ่มกิจกรรมอะไรบ้างที่ทางราชการและเอกชนเข้ามาส่งเสริม
- ด้านสุขภาพ
มีกิจกรรม กิจกรรมส่งเสริมเยาวชนรักกีฬา
- ด้านอาชีพ
ชุมชนคลองเก้าห้อง ไม่มีกิจกรรมด้านอาชีพ
- ด้านการออมทรัพย์
มีกิจกรรม ดังนี้ การทำบัญชีครัวเรือน รายรับ-รายจ่าย, กลุ่มออมทรัพย์, กองทุน ร้านค้าในชุมชน
- ด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
มีกิจกรรม ดังนี้ การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม, การทำบุญตักบาตร, กิจกรรมวันปี
ใหม่และวันสงกรานต์
- ด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม
-
- ด้านการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อม
-
- ด้านการเมืองการปกครอง
-
10. ชุมชนมีโครงการในการพัฒนาชุมชนอะไรบ้างและแต่ละโครงการมีกิจกรรมอย่างไร
-
11. คนดีและเก่งที่เป็นกำลังสำคัญในชุมชน
- ด้านการทำอาหาร
ขนมไทย นางทองอยู่ สาดสุข อายุ 50 ปี ทำทองหยอด, ฝอยทอง
การทำอาหารคาวหวาน นางประยงค์ ส่งเยี่ยม อายุ 55 ปี
- ด้านการช่าง
ช่างไม้ นายณรงค์ เพ็ชรแสงจันทร์
ช่างปูน นายปรุง สมความคิด
ช่างเชื่อม นายถาวร ยังพิมพ์
ช่างไฟ นายถาวร กลิ่นอยู
- ด้านการเกษตร
-
- ด้านศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม (ทุกศาสนาที่มีอยู่ในชุมชน)
ผู้นำการในการทำศาสนพิธีของศาสนา นายณรงค์ เพ็ชรแสงจันทร์
- ด้านการแพทย์แผนไทย
การนวดเพื่อผ่อนคลาย นายบุญส่ง รุ่งเนียม
- ด้านการประดิษฐ์
-
12. ในชุมชนมีจุดอ่อนจุดแข็งอะไรบ้าง
จุดแข็ง - มีความสามัคคีช่วยเหลือกันดี คอยดูแลและสอดส่อง
จุดอ่อน - เยาวชนติดยาบ้า
- อบายมุข
13. รายชื่อคณะกรรมการหมู่บ้าน
1. นายวิลาศ สวยจันทร์ ตำแหน่ง รองประธาน
2. นายวิเชียร โพธิ์จันทร์ ตำแหน่ง เลขา
3. นางพเยาว์ นาคแจ่มใน ตำแหน่ง รองเลขา
4. นางสุภชา อุบลรัตน์ ตำแหน่ง เหรัญญิก
5. นายเดชา กรเจริญ ตำแหน่ง ต้อนรับ
6. น.ส. รวมเดือน วีระพันธ์ ตำแหน่ง ประชาสัมพันธ์
7. นายโชค สินทอง ตำแหน่ง ร.ป.ภ.
14. รายชื่อพัฒนาชุมชน (อช.)
1. นายวิลาศ สวยจันทร์
2. นายวิเชียร โพธิ์จันทร์
3. นางพเยาว์ นาคแจ่มใน
4. นางสุภชา อุบลรัตน์
5. นายเดชา กรเจริญ
6. น.ส. รวมเดือน วีระพันธ์
7. นายโชค สินทอง
15. รายชื่ออาสาสาธารณประจำชุมชน (อส.ม)
-
16. ในชุมชนมีสิ่งที่ทำให้สมาชิกในชุมชนมีความภาคภูมิใจอะไรบ้างเพราะอะไร
คนในชุมชนยังมีความสามัคคี
17. ชุมชนมีความต้องการหรือความคาดหวังในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง
แก้ไขปัญหายาเสพติด
3. ข้อมูลแบบสอบถามของชุมชน
3.1. ส่วนที่ 1 ข้อมูลด้านประชากรของสมาชิกในครัวเรือน
3.1.1 ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนของชุมชนประกอบด้วย ข้อมูลรวมของสมาชิกในครัวเรือน
ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเพศชาย และ ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเพศหญิง
ตารางที่ 1 แสดงร้อยละของครัวเรื่องที่มีสมาชิก1-7 คน
ครัวเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนนี้มีสมาชิกประมาณ4-10 คนต่อครัวเรือน
3.1.2 ข้อมูลส่วนบุคคลของสมาชิกในครัวเรือนทั้งหมด
ตารางที่ 2 ร้อยละของเพศชายและเพศหญิง
ประชากรประกอบด้วยเพศชาย ร้อยละ 44.4 เพศหญิงร้อยละ 54.7
ตาราง 3 ร้อยละของอายุประชากรในชุมชน
ชุมชนคลองเก้าห้อง ประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง 10-20 ปี
ตาราง 4 ระดับการศึกษา
ชุมชนคลองเก้าห้อง ประชากรส่วนใหญ่มีการศึกษาในระดับประถมศึกษา
ตาราง 5 การนับถือศาสนา
ชุมชนคลองเก้าห้อง ประชากรส่วนใหญ่นับถือ
ศาสนาพุทธ
ตาราง 6 รายได้ของคนในชุมชน
ชุมชนคลองเก้าห้อง ประชากรส่วนใหญ่มีรายได้อยู่ในช่วง 5001-10000 บาท
ตาราง 7 รายจ่ายของคนในชุมชน
ชุมชนคลองเก้าห้อง ประชากรส่วนใหญ่มีรายจ่าย
อยู่ในช่วง 0-5000 บาท
ตาราง 8 อาชีพหลัก ของคนในชุมชน
ชุมชนคลองเก้าห้อง ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพหลักคือ รับจ้าง
ตาราง 9 อาชีพเสริม ของคนในชุมชน
คนในชุมชนร่วมใจส่วนใหญ่ไม่ระบุอาชีพเสริม
ตาราง 10 โรคประจำตัวของคนในชุมชน
โรคประจำตัว ของคนในชุมชนคลองเก้าห้อง ได้แก่ ความดันโลหิต
ตารางที่ 11 สถานะภาพครอบครัวในชุมชน
คนในชุมชนอยู่ด้วยกันประมาณ ร้อยละ 73.8
3.1.4 ข้อมูลความขัดแย้งหรือการทะเลาะกันใน
ครัวเรือน (ตารางที่ 12)
คนในชุมชนร้อยละ 49.2 ไม่ทะเลาะกัน
3.1.5 จำนวนข้อมูลผู้ว่างงานในครัวเรือน (ตารางที่ 13)
ในครัวเรือนในชุมชนส่วนใหญ่มีคนว่างงานประมาณ 1-2 คน
3.1.6 ข้อมูลจำนวนผู้พิการในครัวเรือน (ตารางที่14)
มีอยู่ประมาณ 9 ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็นร้อย
ละ 14.8 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.7 ข้อมูลจำนวนผู้ติดสุราในครัวเรือน (ตารางที่ 15)
มีผู้ติดสุรา 1คนคิดเป็นร้อยละ 11.5 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.8 ข้อมูลจำนวนผู้ติดบุหรี่ในครัวเรือน (ตารางที่ 16)
มีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คนคิดเป็นร้อยละ 16.4 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.9 ข้อมูลการเล่นการพนันในครัวเรือนประกอบด้วย การเล่นการพนันของสมาชิกใน
ครัวเรือน และข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่เล่นการพนัน
ข้อมูลการเล่นพนันของสมาชิกในครัวเรือน (ตารางที่ 17)
ร้อยละ 11.5 ของครัวเรือนทั้งหมด เล่นการพนัน
ข้อมูลจำนวนสมาชิกที่เล่นการพนันในครัวเรือน (ตารางที่ 18)
มีผู้เล่นการพนัน 1-2 คน 5 ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 8.2 ของครัวเรือนทั้งหมด
ข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกในครัวเรือน ประกอบด้วย ข้อมูลการซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาลของสมาชิกในครัวเรือน ข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล และ
ข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกใน
ครัวเรือน (ตารางที่ 19)
ร้อยละ 55.7 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล
ข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล (ตารางที่ 20)
ส่วนใหญ่จะซื่อประมาณ 1 คนในครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 24.6 ของครัวเรือนทั้งหมด
ข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล (ตารางที่ 21)
ส่วนใหญ่ใช้เงินซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลเดือนละ200 บาท
3.1.11 ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายของครัวเรือน ประกอบด้วย ค่าอาหาร ค่าเช่าบ้านหรือ
ผ่านบ้าน ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ค่าการศึกษาบุตร ค่าเดินทาง ค่าเครื่องใช้ในครัวเรือน ค่า
เครื่องใช้ส่วนตัว และค่ารักษาพยาบาลข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าอาหารของครัวเรือน (ตารางที่ 22)
ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ
อันดับ 1
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านของครัวเรือน (ตารางที่23)
ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 8
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
น้ำ ค่าไฟ และค่าโทรศัพท์ของครัวเรือน (ตารางที่ 24)
ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ อันดับ 2
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
การศึกษาของบุตร (ตารางที่ 25)
ค่าเล่าเรียนบุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 3
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เดินทาง (ตารางที่ 26)
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้ความสำคัญอันดับ 5
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
ของใช้ในครัวเรือน (เช่น สบู่ แชมพู ผงซักฟอก
เครื่องใช้ไฟฟ้า ฯลฯ) (ตารางที่ 27)
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่ แชมพู ผงซักฟอก
เครื่องใช้ไฟฟ้า มีความสำคัญอันดับ 3
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เครื่องใช้ส่วนตัว (เช่น เสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้าฯลฯ)(ตารางที่ 28)
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัวให้ความสำคัญอันดับ 6
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
รักษาพยาบาล (ตารางที่ 29)
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้ความสำคัญ
อันดับ 7
3.1.12ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน
ประกอบด้วย ข้อมูลการออมเงิน และข้อมูลจำนวนเงินออม
ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน (ตารางที่ 30)
มีการออมเงินร้อยละ 41.0 ของครัวเรือนทั้งหมด
ข้อมูลจำนวนเงินออมในครัวเรือน (ตารางที่ 34)
ร้อยละ6.6 ของครัวเรือนมีเงินออม 2000 บาทต่อครัวเรือน
3.1.13ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน ประกอบด้วย
ข้อมูลการมีหนี้สิน และข้อมูลจำนวนหนี้สินข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน (ตารางที่ 32)
ร้อยละ 52.5 ของครัวเรือนมีหนี้สิน
ข้อมูลจำนวนหนี้สินในครัวเรือน (ตารางที่ 36)
ร้อยละ 68.9 ของครัวเรือนไม่ระบุจำนวนหนี้สิน
3.1.14 ข้อมูลการทำรายรับ รายจ่าย (ตารางที่34)
ร้อยละ 67.2 ไม่มีครอบครัวใดที่ทำบัญชีรายรับ-
รายจ่าย
3.2. ส่วนที่ 2 ข้อมูลด้านที่อยู่อาศัย
3.2.1 ภูมิลำเนาเดิม
3.2.2 ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในชุมชน (ตารางที่ 35)
อาศัยอยู่ในชุมชนส่วนใหญ่อาศัยอยู่ประมาณ 21- 30 ปี
3.2.3 การครอบครองที่อยู่อาศัย ประกอบด้วย
ข้อมูลการครอบครองที่อยู่อาศัย และข้อมูลด้าน
จำนวนพื้นที่อยู่อาศัย
การครอบครองที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 36)
ส่วนใหญ่เป็นเจ้าของร้อยละ 91.8
จำนวนพื้นที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 37)
ชุมชนส่วนใหญ่มีพื้นที่อาศัยอยู่ประมาณ 26-50 ตรว.
3.2.4 ลักษณะของที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 41)
ส่วนใหญ่อาศัยแบบบ้านเดี่ยวสองชั้นร้อยละ 75.4
3.2.5 บริเวณที่อยู่อาศัยของท่านมีความปลอดภัย
ในชีวิตและทรัพย์สินหรือไม่ (ตารางที่ 39)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 70.5 เห็นว่ามีความปลอดภัยใน
ระดับปานกลาง
3.2.6 ครัวเรือนของท่านถูกรบกวนจากภาวะต่างๆ หรือไม่
ถูกรบกวนจากขยะ (ตารางที่ 40)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 41.0 เห็นว่าถูกรบกวนจากขยะในระดับน้อยและปานกลาง
ถูกรบกวนจากน้ำเน่าเสีย (ตารางที่ 44)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 31.1 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำเสียในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากน้ำท่วม (ตารางที่ 42)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 41.0 เห็นว่าไม่ถูกรบกวนจากน้ำท่วม
ถูกรบกวนจากเสียงดัง (ตารางที่ 43)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 31.1 เห็นว่าถูกรบกวนจากเสียงดังในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากการจราจรติดขัด (ตารางที่ 44)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 45.9 เห็นว่าถูกรบกวนจาก
จราจรติดขัดในระดับมาก
ถูกรบกวนจากฝุ่นควันและก๊าซพิษ (ตารางที่ 45)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 34.4 มีปัญหาในระดับปานกลาง
3.2.7 ในรอบปีที่ผ่านมาครัวเรือนของท่านได้รับ
การช่วยเหลือหรือการสนับสนุน ด้านใดบ้างและ
จากหน่วยงานใด (เช่น) ค่าเล่าเรียนบุตร การ
ส่งเสริมอาชีพ การพ่นหมอกควันกำจัดยุง)
(ตารางที่ 47)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 50.8 ได้รับความช่วยเหลือจาก
หน่วยงานต่างๆ
3.3 ส่วนที่ 3 ข้อมูลด้านการเป็นสมาชิกกลุ่มหรือ
การร่วมทำกิจกรรมที่ได้รับการส่งเสริม
3.3.1 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านสุขภาพ
กิจกรรมออกกำลังกายผู้สูงอายุ (ตารางที่ 48)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 45.9 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมสุขภาพ
เยาวชนรักกีฬา (ตารางที่ 49)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 50.8 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
เยาวชนรักกีฬา
เต้นแอโรบิค (ตารางที่ 50)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 48.1 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
เต้นแอโรบิค
งดสูบบุหรี่ (ตารางที่ 51)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 50.8 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
งดสูบบุหรี่
ต่อต้านยาเสพติด (ตารางที่ 52)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 50.8 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
ต่อต้านยาเสพติด
ป้องกันอุบัติเหตุ (ตารางที่ 53)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 49.2 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
ป้องกันอุบัติเหตุ
ควบคุมเบาหวาน (ตารางที่ 54)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 47.5 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
ควบคุมเบาหวาน
ควบคุมความดันโลหิต (ตารางที่ 55)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 47.5 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
ควบคุมความดันโลหิต
ควบคุมไข้เลือดออก (ตารางที่ 56)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 47.5 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
ควบคุมไข้เลือดออก
ตรวจมะเร็งปากมดลูก (ตารางที่ 57)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 50.8 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
ตรวจมะเร็งปากมดลูก
ตรวจมะเร็งเต้านม (ตารางที่ 58)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 49.2 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
ควบคุมมะเร็งเต้านม
3.3.2 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านอาชีพ
ฝึกอาชีพเสริม (ตารางที่ 59)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 50.8 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
ฝึกอาชีพเสริม
ส่งเสริมการท่องเที่ยว (ตารางที่ 60)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.5 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
เสริมรายเด็ก
กิจกรรมชีวิตพอเพียง (ตารางที่ 62)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 49.2 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
ชีวิตพอเพียง
กลุ่มแม่บ้าน (ตารางที่ 63)
.
ส่วนใหญ่ร้อยละ 50.8 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
กลุ่มแม่บ้าน
OTOP (ตารางที่ 64)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.5 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
OTOP
3.3.3 ข้อมูลด้านกลุ่มออมทรัพย์
การทำบัญชีครัวเรือน (ตารางที่ 65)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 57.4 ตอบว่าไม่ระบุการทำบัญชี
ครัวเรือน
กองทุนหมู่บ้าน (ตารางที่ 66)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 49.2 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
กองทุนหมู่บ้าน
กลุ่มณาปนกิจ (ตารางที่ 67)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 57.4 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
กลุ่มฌาปนกิจ
กลุ่มออมทรัพย์ (ตารางที่ 68)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 54.1 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
กลุ่มออมทรัพย์
กองทุนอาชีพ (ตารางที่ 69)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 55.7 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
กองทุนอาชีพ
ร้านค้าชุมชน (ตารางที่ 70)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 57.4 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
ร้านค้าชุมชน
ออมทรัพย์อื่นๆ (ตารางที่ 71)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 984 ตอบว่าไม่ระบุการร่วม
กิจกรรมออมทรัพย์อื่นๆในชุมชน
3.3.4 ข้อมูลด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
อนุรักษ์ศิลปะ (ตารางที่ 72)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.5 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
กลุ่มอนุรักษ์ศิลปะ
การทำบุญตักบาตร (ตารางที่ 73)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 55.7 เข้าร่วมกิจกรรมทำบุญตัก
บาตร
วันปีใหม่สงกรานต์ (ตารางที่ 74)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.5 ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมปี
ใหม่สงกรานต์
การส่งเสริมศิลปะ (ตารางที่ 75)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.5 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
ส่งเสริมศิลปะ
ศาสนพิธี (ตารางที่ 76)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 50.8 ไม่ระบุการร่วม
กิจกรรมศาสนพิธี
พิธีอื่นๆ (ตารางที่ 77)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.4 ไม่ระบุการร่วมการเข้า
ร่วมพิธีอื่น
3.3.5 ข้อมูลด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม
ป้องกันยาเสพติด (ตารางที่ 78)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 50.8 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
ป้องกันยาเสพติด
กลุ่มผู้สูงอายุ (ตารางที่ 79)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 9.0 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
กลุ่มผู้สูงอายุ
กิจกรรมเยาวชน (ตารางที่ 80)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 57.4 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
เยาวชน
ป้องกันขโมย (ตารางที่ 81)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 55.7 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
ป้องกันขโมย
ส่งเสริมสถาบันครอบครัว (ตารางที่ 83)
ส่วนใหญ่ร้อยละ57.4 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
ส่งเสริมสถาบันครอบครัว
กิจกรรมสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส(ตารางที่ 84)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 57.4 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
สงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส/ผู้พิการ
กองทุนพัฒนาชุมชน (ตารางที่ 85)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 57.4 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
กองทุนพัฒนาชุมชน
กองทุนผู้สูงอายุ (ตารางที่ 86)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 54.1 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกองทุนผู้สูงอายุ
3.3.6 ข้อมูลด้านการจัดการรักษา
สิ่งแวดล้อม
ระวังคุณภาพน้ำ (ตารางที่ 87)
?ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.5 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
ระวังคุณภาพน้ำ
ชุมชนน่าอยู่ (ตารางที่ 88)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.5 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมชุมชนน่าอยู่
เก็บขยะในชุมชน (ตารางที่ 89)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 50.8 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมเก็บขยะในชุมชน
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (ตารางที่ 90)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 49.2 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ขุดลอกคูคลอง (ตารางที่ 91)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 55.7 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมขุดลอกคูคลอง
ปลูกต้นไม้ (ตารางที่ 92)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 50.8 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้
ซ่อมแซมสาธารณูปโภค (ตารางที่ 93)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 54.1 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมซ่อมแซมสาธารณูปโภค
ทำความสะอาด (ตารางที่ 94)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 55.71 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
ทำความสะอาด ทิ้งขยะในถัง (ตารางที่ 95)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 41.0 ระบุเข้าร่วมกิจกรรมทิ้งขยะในถัง
อนุรักษ์อื่นๆ (ตารางที่ 96)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 41.0เข้าร่วมกิจกรรมอนุรักษ์ อื่นๆ
3.3.7 ข้อมูลด้านการเมืองการปกครองรณรงค์เลือกตั้ง (ตารางที่ 97)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 42.6 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์การเลือกตั้ง
อบรมความรู้การเมือง (ตารางที่ 98)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 55.7 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมอบรมความรู้การเมือง
สรุปข้อมูลชุมชนคลองเก้าห้อง
สำรวจโดยใช้แบบสอบถามจากครัวเรือนทั้งหมด 61 ครัวเรือนคิดเป็น 60 เปอร์เซนต์ของครัวเรือน
ทั้งหมดในชุมชน ครัวเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนนี้มีสมาชิกประมาณ 4-10 คนต่อครัวเรือนประชากร
ประกอบด้วยเพศชาย ร้อยละ 44.4 เพศหญิงร้อยละ 54.7ประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง 10-20 ปี มี
การศึกษาในระดับประถมศึกษานับถือศาสนาพุทธประชากรส่วนใหญ่มีรายได้อยู่ในช่วง 5001-10000 บาท
รายจ่ายอยู่ในช่วง 0-5000 บาท ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพหลักคือ รับจ้างไม่ระบุอาชีพเสริมโรคประจำตัว
ของคนในชุมชนคลองเก้าห้อง ได้แก่ ความดันโลหิตคนในชุมชนอยู่ด้วยกันประมาณ ร้อยละ 73.8ร้อยละ
49.2 ไม่ทะเลาะกันมีคนว่างงาน ประมาณ 1-2 คนมีอยู่ประมาณ 9 ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็นร้อยละ 14.8
ของครัวเรือนทั้งหมดมีผู้ติดสุรา 1คนคิดเป็นร้อยละ 11.5 ของครัวเรือนทั้งหมดมีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คนคิด
เป็นร้อยละ 16.4 ของครัวเรือนทั้งหมดร้อยละ 11.5 ของครัวเรือนทั้งหมด เล่นการพนันมีผู้เล่นการพนัน 1-2
คน 5 ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 8.2 ของครัวเรือนทั้งหมดร้อยละ 55.7 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่ง
รัฐบาลส่วนใหญ่จะซื่อประมาณ 1 คนในครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 24.6 ของครัวเรือนทั้งหมดค่าเช่าบ้าน
หรือค่าผ่อนบ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 8ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 2
ค่าเล่าเรียนบุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 3 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้ความสำคัญ
อันดับ 5ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่ แชมพู ผงซักฟอก เครื่องใช้ไฟฟ้า มีความสำคัญอันดับ 3ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เครื่องใช้ส่วนตัวให้ความสำคัญอันดับ 6ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้ความสำคัญอันดับ 7มีการออม
เงินร้อยละ 41.0 ของครัวเรือนทั้งหมดร้อยละ6.6 ของครัวเรือนมีเงินออม 2000 บาทต่อครัวเรือนร้อยละ 52.5
ของครัวเรือนมีหนี้สินร้อยละ 68.9 ของครัวเรือนไม่ระบุจำนวนหนี้สินร้อยละ 67.2 ไม่มีครอบครัวใดที่ทำ
บัญชีรายรับ-รายจ่ายอาศัยอยู่ในชุมชนส่วนใหญ่อาศัยอยู่ประมาณ 21-30 ปีส่วนใหญ่เป็นเจ้าของร้อยละ 91.8
มีพื้นที่อาศัยอยู่ประมาณ 26-50 ตรว.อาศัยแบบบ้านเดี่ยวสองชั้นร้อยละ 75.4ร้อยละ 70.5 เห็นว่ามีความ
ปลอดภัยในระดับปานกลางร้อยละ 41.0 เห็นว่าถูกรบกวนจากขยะในระดับน้อยและปานกลางร้อยละ 31.1
เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำเสียในระดับปานกลางร้อยละ 41.0 เห็นว่าไม่ถูกรบกวนจากน้ำท่วมร้อยละ 31.1 เห็น
ว่าถูกรบกวนจากเสียงดังในระดับปานกลางร้อยละ 45.9 เห็นว่าถูกรบกวนจากจราจรติดขัดในระดับมากร้อย
ละ 34.4 มีปัญหาในระดับปานกลางส่วนใหญ่ ไม่ตอบว่าถูกรบกวนจากสิ่งอื่นๆร้อยละ 50.8 ได้รับความ
ช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆ ร้อยละ 45.9 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมสุขภาพร้อยละ 50.8 ไม่ระบุการร่วม
กิจกรรมเยาวชนรักกีฬาร้อยละ 48.1 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมเต้นแอโรบิคร้อยละ 50.8 ไม่ระบุการร่วม
กิจกรรมงดสูบบุหรี่ร้อยละ 50.8 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมต่อต้านยาเสพติดร้อยละ 49.2 ไม่ระบุการร่วม
กิจกรรมป้องกันอุบัติเหตุร้อยละ 47.5 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมควบคุมเบาหวานร้อยละ 47.5 ไม่ระบุการร่วม
กิจกรรมควบคุมความดันโลหิตร้อยละ 47.5 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมควบคุมไข้เลือดออกร้อยละ 50.8 ไม่
ระบุการร่วมกิจกรรมตรวจมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 49.2 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมควบคุมมะเร็งเต้านมร้อยละ
50.8 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมฝึกอาชีพเสริมส่วนใหญ่ร้อยละ 50.8 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมส่งเสริมการ
ท่องเที่ยวร้อยละ 52.5 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมเสริมรายเด็กร้อยละ 49.2 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมชีวิต
พอเพียงร้อยละ 50.8 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมกลุ่มแม่บ้านร้อยละ 52.5 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมOTOPร้อย
ละ 57.4 ตอบว่าไม่ระบุการทำบัญชีครัวเรือนร้อยละ 49.2 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมกองทุนหมู่บ้านร้อยละ
57.4 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมกลุ่มฌาปนกิจร้อยละ 54.1 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์ร้อยละ 55.7
ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมกองทุนอาชีพร้อยละ 57.4 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมร้านค้าชุมชนร้อยละ 984 ตอบว่า
ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมออมทรัพย์อื่นๆในชุมชนร้อยละ 52.5 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมกลุ่มอนุรักษ์ศิลปะ
ร้อยละ 55.7 เข้าร่วมกิจกรรมทำบุญตักบาตรร้อยละ 52.5 ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมปีใหม่สงกรานต์ร้อยละ
52.5 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมส่งเสริมศิลปะร้อยละ 50.8 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมศาสนพิธีร้อยละ 98.4 ไม่
ระบุการร่วมการเข้าร่วมพิธีอื่นร้อยละ 50.8 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมป้องกันยาเสพติดร้อยละ 9.0 ไม่ระบุการ
ร่วมกิจกรรมกลุ่มผู้สูงอายุร้อยละ 57.4 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมเยาวชนร้อยละ 55.7 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรม
ป้องกันขโมยร้อยละ 57.4 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมห่วงใยวัย70ร้อยละ57.4 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมส่งเสริม
สถาบันครอบครัวร้อยละ 57.4 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส/ผู้พิการร้อยละ 57.4 ไม่ระบุ
การร่วมกิจกรรมกองทุนพัฒนาชุมชนร้อยละ 54.1 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกองทุนผู้สูงอายุร้อยละ 52.5
ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมระวังคุณภาพน้ำร้อยละ 52.5 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมชุมชนน่าอยู่ร้อยละ 50.8 ไม่
ระบุการร่วมกิจกรรมเก็บขยะในชุมชนร้อยละ 49.2 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมร้อยละ 55.7
ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมขุดลอกคูคลองร้อยละ 50.8 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้ร้อยละ 54.1 ไม่
ระบุการร่วมกิจกรรมซ่อมแซมสาธารณูปโภคร้อยละ 55.71 ไม่ระบุการร่วมกิจกรรมทำความสะอาดร้อยละ
41.0 ระบุเข้าร่วมกิจกรรมทิ้งขยะในถังร้อยละ 41.0เข้าร่วมกิจกรรมอนุรักษ์อื่นๆร้อยละ 42.6 ไม่ระบุการเข้า
ร่วมกิจกรรมรณรงค์การเลือกตั้งร้อยละ 55.7 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมอบรมความรู้การเมือง
|