ชุมชน สน. ทุ่งครุ่
ชุมชน สน.ทุ่งครุ หมู่ที่ 2 แขวง ทุ่งครุ เขตทุ่งครุ จังหวัด กรุงเทพมหานครฯ
1. ข้อมูลพื้นฐานของชุมชน
1.1 ประวัติความเป็นมาของชุมชน
. เดิมพื้นที่นี้เรียกชื่อ ทุ่งครุ ซึ่งเรียกตามเขตพื้นที่ในขณะนั้น ต่อมาเมื่อมีการพัฒนาพื้นที่เพิ่มมาก
ขึ้น สภาพชุมชนที่ตั้งอยู่เป็นพื้นที่ราบติดคลองรางจาก และมีการตั้งบ้านเรือนอยู่อย่างกระจายทั่วไปของ
พื้นที่ของเขตทุ่งครุ ส่วนใหญ่จะอยู่รวมกันตามแนวถนน และเมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมาเมื่อ สน.ทุ่งครุ ได้สร้าง
ขึ้นในเขตพื้นที่ ประกอบกับทางเขตกรุงเทพมหานครได้มีการเปลี่ยนแปลงจัดตั้งและแบ่งเขตขึ้นใหม่มี
การประกาศจัดตั้งชุมชนเมื่อวันที่ 2546 และตั้งชื่อชุมชนตามสถานที่สำคัญๆตั้งอยู่ ซึ่งในบริเวณนี้ มี สน.
ทุ่งครุ จึงมีการใช้ชื่อนี้มาตั้งแต่งปี 2546 ปัจจุบันพื้นที่ส่วนใหญ่ของชุมชน สน.ทุ่งครุ เป็นพื้นที่ว่างอยู่
ด้านหลังเป็นสวนและน้ำท่วมถึงเกือบตลอดปี มีการจัดกลุ่มบ้านเรือนที่อยู่ในละแวกเดียวกัน คนใน
ชุมชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธและอิสลามส่วนใหญ่ประกอบอาชีพค้าขาย รับจ้างทั่วไป คนที่อยู่ใน
ชุมชนดั้งเดิมประกอบอาชีพทางการเกษตร (ทำสวนส้มเขียวหวาน) แต่เนื่องจากมีการขยายตัวของเมือง
เพิ่มขึ้น มีการสร้างและปรับปรุงถนนเข้าสู่หมู่บ้าน คนส่วนใหญ่จึงเคลื่อนย้ายออกมาอยู่ริมถนนที่มีการ
คมนาคมสะดวก ประกอบกับระดับน้ำในคลองสูงขึ้นท่วมพื้นที่โดยทั่วไป การประกอบอาชีพทางการ
เกษตรจึงลดลง เริ่มก่อตั้งในปี 2470 หรือประมาณ 80 ปีมาแล้ว
1.2 โครงสร้างพื้นฐานชุมชน เริ่มเข้าไปพัฒนาเมื่อปี พ.ศ. 2519
การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของชุมชน
เริ่มมีไฟฟ้าเข้ามาในชุมชน เมื่อปี 2519
1.3 สภาพปัจจุบัน ประชากรทั้งหม 325 คน ชาย155 คน หญิง 170 คนใน ชุมชนมีครัวเรือน
148 ครอบครัว มีบ้าน 85 หลังคาเรือน
1.4 ปัญหาสำคัญภายในชุมชน
1. ปัญหาขยะ
2. ปัญหายาเสพติดภายในชุมชน
3. ปัญหาน้ำในคลองเน่าเสีย
1.5 การทำงานร่วมกับหน่วยงานภายนอกชุมชนทั้งภาครัฐและเอกชน
1. สถานีตำรวจนครบาลเขตทุ่งครุ
- อาสาตำรวจชุมชน ทำหน้าที่เป็นตัวแทนตำรวจมีหน้าคอยสอดส่องและแจ้งเหตุ
ให้กับเจ้าหน้าตำรวจ
2. อนามัยเขตทุ่งครุ
- เข้ามาบริการตรวจเบาหวาน ตรวจวัดความดัน
1.6 แผนที่ชุมชน
-
1.6 สภาพชุมชน
2. ข้อมูลแบบสัมภาษณ์ของคณะกรรมการชุมชน
ชื่อชุมชน ชุมชนสน.ทุ่งครุ
ชื่อผู้ให้สัมภาษณ์ ดต.เกรียงไกร ชัยชาญ ตำแหน่ง/หน้าที่ คณะกรรมการชุมชน
1. ที่ตั้งของชุมชน ซอยประชาอุทิศ 93 หมู่ที่2 แขวงทุ่งครุ เขตทุ่งครุ กรุงเทพฯ
2. อาณาเขตติดต่อ
- ทิศเหนือติดกับ หมู่บ้านทรัพสมบูรณ์
- ทิศตะวันออกติดกับ แม่น้ำลำคลอง
- ทิศใต้ติดกับ ถนนประชาอุทิศ
- ทิศตะวันตกติดกับ โรงงานท่อปูน
3. คณะกรรมการชุมชนมีบทบาทในการพัฒนาหรือการปกครองชุมชนอย่างไรบ้าง
กิจกรรมใหเความรู้ด้านยาเสพติด,การกีฬา,สาธารณสุขแก่เด็กและเยาวชน
ร่วมกันกับชุมชนใกล้เคียงแลกเปลี่ยนความรู้ ความเข้าใจกับชุมชนอื่น ส่งเสริม
กิจกรรมและอาชีพแก่ประชาชน
4. ภายในชุมชนมีสถานที่สำคัญอะไรบ้างและมีความเป็นมาอย่างไร
สถานีตำรวจนครบาลทุ่งครุ เป็นสถานที่ราชการที่คอยดูแลเรื่องทุกเรื่อง ปัญหาทุก
ปัญหาของชุมชน และเป็นที่ปรึกษาด้านกฎหมายให้แก่ประชาชนในชุมชน
5. ชุมชนมีกฏระเบียบหรือข้อบังคับในการอยู่ร่วมกันภายในชุมชนอย่างไรบ้าง
ทุกคนมีความเคารพซึ่งกันและกัน เห็นอกเห็นใจกันและช่วยเหลือซึ่งกันและกันมา
ด้วยดีตลอด
ผู้ปกครองส่งเสริมสนุบสนุนให้เด็กและเยาวชนมาเข้าร่วมกิจกรรมที่ทางชุมชนจัด
ทุกครั้งไป
6. ชุมชนมีนโยบายหรือแผนในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง
เน้นเรื่องความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
ปัญหายาเสพติดและการมั่วสุม
การพัฒนาชุมชนด้านความสะอาดของชุมชน และการอนุรักษ์ธรรมชาติ แม่น้ำลำ
คลอง
7. ในชุมชนมีปัญหาอะไรบ้าง
- ปัญหาด้านสังคม
มาก มีปัญหาอะไรบ้าง
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง
น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหายาเสพติด ปัญหาทะเลาะกัน ปัญหาอย่าร้าง
ปัญหาความขัดแย้งในชุมชน ผู้สูงอายุถูกทอดทิ้ง
- ปัญหาด้านเศรษฐกิจ
มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหารายได้น้อย
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาหนี้นอกระบบ ปัญหาหนี้ในระบบ ปัญหา
การขาดแหล่งทุนสำหรับกู้ยืมประกอบอาชีพ
น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาคนว่างงาน ขากโอกาสในการประกอบอาชีพใหม่
ปัญหาขาดโอกาสในการพัฒนาฝีมือ ขาดตลาดขายผลิตภัณฑ์ ปัญญาการรวมกลุ่มอาชีพ
- ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการจราจร
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาผิวจราจรชำรุด
น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการจราจรที่มักเกิดอุบัติเหตุ ปัญหาอุปกรณ์ไฟฟ้าชำรุด
- ปัญหาด้านสารธารณสุข
มาก มีปัญหา
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง - ขาดแคลนอาสาสมัครเพื่อทำหน้าที่บริการด้านสุขภาพ ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ ปัญหาการติดบุหรี่
น้อย ปัญหาภาวะโภชนาการ การแพร่ระบาดของโรคที่มีสัตว์นำโรคเป็นพาหะ
เช่น ยุง แมลง หนู ปัญหาความเสี่ยงในการเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปัญหาการติดสุรา อุบัติเหตุบนท้องถนน
- ปัญหาด้านการศึกษา
มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาในการขาดโอกาสในการศึกษา ปัญหาการศึกษา
ในระบบโรงเรียนยังขาดแคลนงบประมาณ ปัญหาผู้สอนไม่มีประสิทธิภาพ ปัญหาผู้สอนไม่เพียงพอกับ
จำนวนนักเรียน ปัญหาสื่อการเรียนการสอนไม่ได้คุณภาพ
- ปัญหาด้านศาสนา
มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ศาสนิกชนขาดความรู้ความเข้าใจในหลักศาสนาอย่างถ่องแท้ ขาดความร่วมมือระหว่างองค์กรศาสนาต่างๆ
น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง
- ปัญหาด้านประเพณีและวัฒนธรรม
มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ไม่มีการถ่ายทอดประเพณี และภูมิปัญญาให้แก่ลูกหลาน
น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาขาดการสนับสนุนและส่งเสริมการทำนุบำรุงรักษา แระเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่น การให้ความสำคัญกับความเชื่อและการปฏิบัติทางวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นมีน้อย
- ปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาขยะมูลฝอย ปัญหาชุมชนแออัด ปัญหาด้านการ
ขาดการฟื้นฟูรักษา
- ปัญหาด้านการเมืองการบริหาร
มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง การขาดแคลนวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานที่เพียงพอและมีประสิทธิภาพ
น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง การให้บริการข้อมูลข่าวสารและการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ยังไม่ทั่วถึง
8. จงเรียงลำดับความสำคัญของปัญหาที่ชุมชนต้องแก้ไขเร่งด่วนมากที่สุด เพราะอะไร
8.1 ปัญหาด้านขยะมูลฝอย เพราะ เจ้าหน้าที่รักษาความสะอาด ของสำนักงานเขตทุ่งครุอาจเก็บไม่สะอาด ไม่ครบทุกบ้าน
8.2ปัญหาถนนน้ำท่วมขัง เพราะ ท่อระบายน้ำตัน ทุกครั้งที่ฝนตกหนัก
8.3ปัญหาจำนวนรถยนต์ที่จอดในชุมชน เพราะ เป็นที่ประชาชนมาติดต่อสำนักงานเขตทุ่งครุ บางเวลาอาจหาที่จอดไม่ได้ เป็นที่แคบต้องเบียดกันหาที่จอดยากมาก
9. ในชุมชนมีกลุ่มกิจกรรมอะไรบ้างที่ทางราชการและเอกชนเข้ามาส่งเสริม
- ด้านสุขภาพ
มี กิจกรรมอะไรบ้าง กิจจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ กิจกรรม
ส่งเสริมเยาวชนรักกีฬา กิจกรรมรณรงค์วันงดสูบบรี่ กิจกรรมรณรงค์ต่อต้านการเผยแพร่ระบาดของ
ยาเสพติดในชุมชน กิจกรรมรณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุจากการจราจร , ควบคุมโรคเบาหวาน, กิจกรรม
รณรงค์ควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก,
- ด้านอาชีพ
มี กิจกรรมอะไรบ้าง กิจกรรมชีวิตพอเพียงตามแนวพระราชดำริ
- ด้านการออมทรัพย์
มี กิจกรรมอะไรบ้าง
- ด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
มี กิจกรรมอะไรบ้าง การทำบุญตักบาตร กิจกรรมวันปีใหม่และวันสงกรานต์
ฝึกปฎิบัติเกี่ยวกับศาสนพิธีและวันสำคัญทางศาสนา
- ด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม
มี กิจกรรมอะไรบ้าง การป้องกันยาเสพติด, กิจกรรมเพื่อเยาวชน การป้องกัน
การขโมย ส่งเสริมสถาบันทางครอบครัว
- ด้านการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อม
มี กิจกรรม ระวังคุณภาพน้ำ การประกวดชุมชนน่าอยู่ การอบรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เก็บขยะในชุมชน, การขุดลอกคูคลอง ปลูกต้นไม้สวยงาม ปรับปรุงหรือซ่อมแซม รณรงค์ให้ ทิ้งขยะในถังขยะจัดที่ใส่ขยะให้เป็นระเบียบ
- ด้านการเมืองการปกครอง
มี กิจกรรมอะไรบ้าง รณรงค์ให้ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งทุก ๆ ครั้งที่มีการเลือกตั้งอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเมือง
10. ชุมชนมีโครงการในการพัฒนาชุมชนอะไรบ้างและแต่ละโครงการมีกิจกรรมอย่างไร
1. โครงการเหยี่ยวข่าวอาชญากรรม วัตถุประสงค์ ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด และรู้วิธีป้องกัน พร้อมทั้งเป็นพลเมืองที่ดี
2. โครงการนครบาลหลีก (ฟุตบอล) วัตถุประสงค์ ส่งเสริมเด็กและเยาวชน ให้มี
สุขภาพร่างกายแข็งแรง เล่นกีฬา
3. โครงการส่องโลกตำรวจ วัตถุประสงค์ ส่งเสริมเด็กและเยาวชนให้เข้าใจการ
ทำงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจและแจ้งข่าวอาชญากรรม
11. คนดีและเก่งที่เป็นกำลังสำคัญในชุมชน
- ด้านการทำอาหาร
การทำอาหารคาวหวาน นางนุช หมอนทอง
- ด้านการช่าง
ช่างเขียนป้าย หรือช่างศิลป์ ดต.พันทวัฒน์ รื่นรมย์
ช่างช่อมเครื่องใช้จำพวกอีเล็กทรอนิค ดต.ประจักษ์ สร้อยทอง
ช่างไฟฟ้า จสต.นัฐพล ภัทรสาริกุล
ช่างตกแต่งภายใน นายจรัล นริศเนตร
- ด้านการเกษตร
ปลูกผัก -นายจรัล นริศเนตร
เลี้ยงสัตว์ ประทีป วงค์ฉายา
จับสัตว์น้ำเช่นการจับปลา นายบุญยิ่ง กลิ่นสมเชื้อ
การขยายพันธุ์สัตว์ นายสำณรงค์ สายไธสงค์
การขายพันธุ์พืช -นายบุญยิ่ง กลิ่นสมเชื้อ
- ด้านศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม (ทุกศาสนาที่มีอยู่ในชุมชน)
ผู้นำการในการทำศาสนพิธีของศาสนา รตต.เสนอ นารีนุช
ผู้นำปฏิบัติในงานประเพณีและกิจกรรม - รตต.เสนอ นารีนุช
12. ในชุมชนมีจุดอ่อนจุดแข็งอะไรบ้าง
จุดแข็ง - เป็นชุมชนที่อยู่ในพื้นที่รับผิดชอบของ สน.ทุ่งครุ พื้นที่ติดกับสน.ทุ่งครุ ทำให้
มีความปลอดภัยสูง มีการร่วมมือของคนในชุมชนสูงมาก มีสน.ทุ่งครุเป็นหน่วยงานของรัฐที่สนับสนุน
กิจกรรมต่างๆอย่างดียิ่ง เป็นชุมชนของข้าราชการส่วนใหญ่
จุดอ่อน -
13. รายชื่อคณะกรรมการหมู่บ้าน
1. รท.อร่าม ไชยวงค์ ตำแหน่ง ประธาน
2. ดต.อุดม เร่าอารมณ์ ตำแหน่งกรรมการ
3. ดต.ปรีชา บุญปลิว ตำแหน่ง กรรมการ
4. ดต.เกรียงไกร ชัยชาญ ตำแหน่ง กรรมการ
5. ดต.นันทวัฒน์ รื่นรมย์ ตำแหน่ง กรรมการ
6. จสต.วีระ หมอนทอง ตำแหน่งกรรมการ
7. นางวาสนา ดิษฐ์เล็ก ตำแหน่งเลขานุการ
3. ข้อมูลแบบสอบถามของชุมชน
3.1. ส่วนที่ 1 ข้อมูลด้านประชากรของสมาชิกในครัวเรือน
3.1.1 ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนของชุมชนประกอบด้วย ข้อมูลรวมของสมาชิกในครัวเรือน
ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเพศชาย และข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเพศหญิง
ตารางที่ 1 แสดงจำนวนสมาชิกในครัวเรือน
ครัวเรือนส่วนใหญ่มีสมาชิกในครัวเรือน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 30.8 ของประชากรทั้งหมด
ตารางที่ 2 แสดงข้อมูลจำนวนเพศของสมาชิกในชุมชน
ชุมชน สน. ทุ่งครุ มีประชากรที่เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 47.6 และประชากรที่เป็นเพศหญิงคิด
เป็นร้อยละ 52.4 ของประชากรทั้งหมด ตารางที่ 3 แสดงข้อมูลด้านอายุของสมาชิกในชุมชน
ชุมชน สน. ทุ่งครุ ประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง 21-30 ปี คิดเป็นร้อยละ 36.51 ของประชากรทั้งหมด
3.1.2 ข้อมูลส่วนบุคคลของสมาชิกในครัวเรือนทั้งหมด
ตารางที่ 4 แสดงข้อมูลการศึกษา
ชุมชน สน. ทุ่งครุ ประชากรส่วนใหญ่มีการศึกษาอยู่ในระดับประถมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 27 ของประชากรทั้งหมด
ตารางที่ 5 แสดงข้อมูลการนับถือศาสนา
ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ คิดเป็นร้อยละ 100 ของประชากรทั้งหมด เพศ จำนวน ร้อยละ
ชาย 30 47.6 หญิง 33 52.4 รวม 63 100
ตารางที่ 6 แสดงข้อมูลรายได้ของสมาชิกในชุมชน
ประชากรส่วนใหญ่มีรายได้ในช่วง 0-5000 บาท
คิดเป็นร้อยละ 14.29 ของประชากรทั้งหมด
ตาราง 7 แสดงข้อมูลรายจ่ายของคนในชุมชน
ประชากรส่วนใหญ่มีรายจ่ายอยู่ในช่วง 0-5000
บาท คิดเป็นร้อยละ 23.81ของประชากรทั้งหมด
ตาราง 8 แสดงข้อมูลอาชีพหลัก ของคนในชุมชน
ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้าง คิด
เป็นร้อยละ 34.9 ของประชากรทั้งหมด
ตารางที่ 9 แสดงอาชีพเสริมของคนในชุมชน
ประชากรส่วนใหญ่ไม่มีอาชีพเสริม คิดเป็นร้อยละ 100 ของประชากรทั้งหมด
ตาราง 10 แสดงข้อมูลโรคประจำตัวของคนในชุมชน
ชุมชน สน. ทุ่งครุ ประชากรมีโรคประจำตัว
ได้แก่ ความดันโลหิต และส่วนใหญ่จะไม่ระบุ
3.1.3 ตารางที่ 11 แสดงข้อมูลสถานะภาพครอบครัวในชุมชน
ชุมชน สน. ทุ่งครุ มีการหย่าร้าง คิดเป็นร้อยละ
7.7 ของประชากรทั้งหมด
3.1.4 ข้อมูลความขัดแย้งหรือการทะเลาะกันในครัวเรือน
ตารางที่ 12 แสดงข้อมูลด้านความขัดแย้งหรือการทะเลาะกันในครัวเรือน
ประชากรส่วนใหญ่ทะเลาะกันอาทิตย์ละ 1-2 ครั้ง
คิดเป็นรัอยละ 61.5 ของประชากรทั้งหมด
3.1.5 จำนวนข้อมูลผู้ว่างงานในครัวเรือน
ตารางที่ 13 แสดงข้อมูลด้านผู้ว่างวานในครัวเรือน
ในครัวเรือนส่วนใหญ่มีผู้ว่างงาน 1 คน คิดเป็น
ร้อยละ 38.5 ของประชากรทั้งหมด
3.1.6 ข้อมูลจำนวนผู้พิการในครัวเรือน
ตารางที่ 14 แสดงข้อมูลผู้พิการในครัวเรือน
ในชุมชน สน. ทุ่งครุ มีผู้พิการ 1 คน 1
ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 7.7 ของประชากรทั้งหมด
3.1.7 ข้อมูลจำนวนผู้ติดสุราในครัวเรือน
ตารางที่ 15 แสดงข้อมูลจำนวนผู้ติดสุราใน
ครัวเรือน
ชุมชน สน. ทุ่งครุ มีผู้ติดสุรา 1 คน 1 ครัวเรือน
คิดเป็นร้อยละ 7.7 มีผู้ติดสุรา 2 คน 1 ครัวเรือน
คิดเป็นร้อยละ 7.7 มีผู้ติดสุรา 3 คน 1 ครัวเรือน
คิดเป็นร้อยละ 7.7
3.1.8 ข้อมูลจำนวนผู้ติดบุหรี่ในครัวเรือน
ตารางที่ 16 แสดงข้อมูลจำนวนผู้ติดบุหรี่ใน
ครัวเรือน
ในครัวเรือนส่วนใหญ่มีผู้ติดบุหรี่ 2 คน คิดเป็นร้อยละ 30.8
3.1.9 ข้อมูลการเล่นการพนันในครัวเรือนประกอบด้วย การเล่นการพนันของสมาชิกใน
ครัวเรือน และข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่เล่นการพนัน
ตารางที่ 17 แสดงข้อมูลการเล่นพนันของสมาชิกในครัวเรือน
มีผู้เล่นการพนัน คิดเป็นร้อยละ 38.5 ของประชากรทั้งหมด
ตารางที่ 18 แสดงข้อมูลจำนวนสมาชิกที่เล่นการพนันในครัวเรือน
มีผู้เล่นการพนัน 2 คน 2 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 15.4 ของประชากรทั้งหมด
3.1.10 ข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกในครัวเรือน ประกอบด้วย ข้อมูลการซื้อ
สลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกในครัวเรือนข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล และข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล
ตารางที่ 19 แสดงข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกในครัวเรือน
มีผู้ซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล 5 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 38.5 ของประชากรทั้งหมด
ตารางที่ 20 แสดงข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล
ในครัวเรือนส่วนใหญ่มีผู้ซื้อสลกกินแบ่งรัฐบาล 2 คน คิดเป็นร้อยละ 15.4 ของประชากรทั้งหมด
ตารางที่ 21 แสดงข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลาก
กินแบ่งรัฐบาล
ส่วนใหญ่มีรายจ่ายในการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล 100 บาท คิดเป็นร้อยละ 15.4 ของ
ประชากรทั้งหมด
3.1.11 ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายของครัวเรือน ประกอบด้วย ค่าอาหาร ค่าเช่าบ้าน
หรือผ่านบ้าน ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ค่า
การศึกษาบุตร ค่าเดินทาง ค่าเครื่องใช้ในครัวเรือน
ค่าเครื่องใช้ส่วนตัว และค่ารักษาพยาบาล
ตารางที่ 22 แสดงข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าอาหารของครัวเรือน
ชุมชนนี้ให้ความสำคัญเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในด้านอาหารอยู่ในลำดับที่ 1
ตารางที่ 23 แสดงข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านของครัวเรือน
ชุมชนนี้ให้ความสำคัญเกี่ยวกับค่าเช่าบ้านอยู่ใน ลำดับที่ 1,2,6,7 และ 8
ตารางที่ 24 แสดงข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าน้ำ ค่าไฟ และค่าโทรศัพท์ของครัวเรือน
ชุมชนนี้ให้ความสำคัญเกี่ยวกับค่าน้ำค่าไฟ และค่าโทรศัพท์อยู่ในลำดับที่ 2
ตารางที่ 25 แสดงข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าการศึกษาของบุตร
ชุมชนนี้ให้ความสำคัญเกี่ยวกับค่าเล่าเรียนบุตรอยู่ในลำดับที่ 8
ตารางที่ 26 แสดงข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเดินทาง
ชุมชนนี้ให้ความสำคัญเกี่ยวกับค่าเดินทางอยู่ในลำดับที่ 6
ตารางที่ 27 แสดงข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าของใช้ในครัวเรือน (เช่น สบู่ แชมพูผงซักฟอก เครื่องใช้ไฟฟ้า ฯลฯ)
ชุมชนนี้ให้ความสำคัญเกี่ยวกับค่าของใช้ในครัวเรือนอยู่ในลำดับที่ 2,3 และ 5
ตารางที่ 28 ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่าย
เกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัว (เช่น เสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้า ฯลฯ)
ชุมชนนี้ให้ความสำคัญเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัวอยู่ในลำดับที่ 8
ตารางที่ 29 แสดงข้อมูลระดับควมสำคัญในการ
ใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาล
ชุมชนนี้ให้ความสำคัญเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลอยู่ในลำดับที่ 6
3.1.12 ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือนประกอบด้วย ข้อมูลการออมเงิน และข้อมูล
จำนวนเงินออม
ตารางที่ 30 แสดงข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน
ประชากรส่วนใหญ่ในชุมชนมีเงินออม คิดเป็นร้อยละ 53.8 ของประชากรทั้งหมด
ส่วนใหญ่ไม่ระบุจำนวนเงินออม คิดเป็นร้อยละ38.5
3.1.13ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน
ประกอบด้วย ข้อมูลการมีหนี้สิน และข้อมูลจำนวนหนี้สิน
ตารางที่ 32 แสดงข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน
ครัวเรือนส่วนใหญ่มีหนี้สิน คิดเป็นเป็นร้อยละ 61.5 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.14ข้อมูลการทำบัญชีรายรับ รายจ่ายในครัวเรือน
ตารางที่ 34 แสดงข้อมูลการทำบัญชีรายรับ จ่ายในครัวเรือน
3.2 ส่วนที่ 2 ข้อมูลด้านที่อยู่อาศัย
3.2.1 ภูมิลำเนาเดิมประชาชนที่อาศัยอยู่ในชุมชน มาจากในเขต
กรุงเทพ ฯ ได้แก่ ในเขตทุ่งครุเดิม และต่างจังหวัด ได้แก่ แพร่ เพชรบุรี สมทรปราการ
และ อุตรดิตถ์
3.2.2 ข้อมูลระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในชุมชน
ตารางที่ 35 แสดงข้อมูลระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในชุมชน
ประชากรส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในชุมชน 25 ปี คิด
เป็นร้อยละ 23.1 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.2.3 การครอบครองที่อยู่อาศัย ประกอบด้วย
ข้อมูลการครอบครองที่อยู่อาศัย และข้อมูลด้านจำนวนพื้นที่อยู่อาศัย
ตารางที่ 36 แสดงข้อมูลการครอบครองที่อยู่อาศัย
ประชากรส่วนใหญ่ของครัวเรือนเช่าที่พักอาศัย
คิดเป็นร้อยละ 76.9
ตารางที่ 37 แสดงข้อมูลจำนวนพื้นที่อยู่อาศัย
ประชากรส่วนใหญ่มีจำนวนพื้นที่อยู่อาศัย 9 ตรม.
คิดเป็นร้อยละ 53.8
3.2.4 ข้อมูลลักษณะของที่อยู่อาศัย
3.2.5 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
บริเวณที่อยู่อาศัย
ตารางที่ 39 แสดงข้อมูลความปรอดภัยในชีวิต
และทรัพย์สินบริเวณที่อยู่อาศัย
ประชากรส่วนใหญ่ตอบว่ามีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินบริเวณที่อยู่อาศัยอยู่ในระดับปานกลาง
3.2.6 ข้อมูลการถูกรบกวนจากมลภาวะต่าง ๆภายในชุมชน ประกอบด้วย จากขยะ น้ำเน่าเสีย
น้ำท่วม เสีงดังรบกวน การจรารจรติดขัด ฝุ่นควัน และอื่น ๆ
ตารางที่ 40 แสดงข้อมูลที่ได้รับความรบกวนจากขยะ
ประชากรส่วนใหญ่ตอบว่าไม่มีการรบกวนจาก
ขยะ คิดเป็นเป็นร้อยละ 53.8
ตารางที่ 41 แสดงข้อมูลที่ถูกรบกวนจาก
น้ำเน่าเสีย
ประชากรส่วนใหญ่ตอบว่าไม่มีการรบกวนจากน้ำ
เน่าเสีย คิดเป็นร้อยละ 38.5
ตารางที่ 42 แสดงข้อมูลที่ถูกรบกวนจากน้ำท่วม
ประชากรส่วนใหญ่ตอบว่าถูกรบกวนจากน้ำท่วม
ในระดับปานกลาง
ตารางที่ 43 แสดงข้อมูลที่ถูกรบกวนจากเสียงดัง
ประชากรส่วนใหญาตอบว่าไม่ถูกรบกวนจากเสียง
ดัง คิดเป็นร้อยละ 53.8
ตารางที่ 44 แสดงข้อมูลที่ถูกรบกวนจาก
การจราจรติดขัด
ประชากรส่วนใหญ่ตอบว่าถูกรบกวนจากจราจร
ติดขัดอยู่ในระดับปานกลาง
ตารางที่ 45 แสดงข้อมูลที่ถูกรบกวนจากฝุ่นควัน
และก๊าซพิษ
ประชากรส่วนใหญ่ตอบไม่ถูกรบกวนจากฝุ่น
ควันและก๊าซพิษ คิดเป็นร้อยละ 61.5
ตารางที่ 46 แสดงข้อมูลที่ถูกรบกวนจากด้าน
อื่น ๆ
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการถูกรบกวนในด้านอื่น ๆ
3.2.7 ข้อมูลการได้รับความช่วยเหลือหรือการสนับสนุน จากหน่วยงานต่าง ๆ ในพื้นที่ (เช่น
การได้รับความช่วยเหลือในด้าน ค่าเล่าเรียนบุตรการส่งเสริมอาชีพ การพ่นหมอกควันกำจัดยุง)
ตารางที่ 47 แสดงข้อมูลการได้รับความช่วยเหลือ หรือการได้รับการสนับสนุน
ประชากรส่วนใหญ่ตอบว่าได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานต่าง ๆ คิดเป็นร้อยละ 84.6
สิ่งที่ได้รับการสนับสนุน ประชาชนที่อาศัยอยู่ในชุมชนส่วนใหญ่แล้ว จะได้รับการสนับสนุนใน
การพ่นหมอกควันกำจัดยุงความต้องการของชุมชน ประชาชนที่อาศัยอยู่ใน
ชุมชนส่วนใหญ่แล้วมีความต้องการ จัดทำท่อระบายน้ำ การรักษาพยาบาล การส่งเสริมอาชีพและการกำจัดขยะ ตามลำดับ
3.3 ส่วนที่ 3 ข้อมูลด้านการเป็นสมาชิกกลุ่มหรือการร่วมทำกิจกรรมที่ได้รับการส่งเสริม
3.3.1 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านสุขภาพประกอบด้วย กิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกาย
ของผู้สูงอายุ เยาวชนรักกีฬา การเต้นแอโรบิค การรณรงค์งดสูบบุหรี่ การรณรงค์การต่อต้าน
ยาเสพพติด การรณรงค์ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุจาการจารจร การรณรงค์ป้องกันโรคเบาหวาน การ
รณรงค์ป้องกันโรคความดันโลหิต การรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก การตรวจมะเร็งปาก
มดลูก การตรวจมะเร็งเต้านม และกิจกรรมเกี่ยวกับสุขภาพในด้านอื่น ๆ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ตารางที่ 48 แสดงข้อมูลการจัดกิจกรรมออกกำลังกายของผู้สูงอายุ
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ
ตารางที่ 49 แสดงข้อมูลการจัดกิจกรรมเยาวชนรักกีฬา
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมเยาวชนรักกีฬา
ตารางที่ 50 แสดงข้อมูลกิจกรรมการจัดกิจกรรมเต้นแอโรบิค
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมเต้นแอโรบิค
ตารางที่ 51 แสดงข้อมูลกิจกรรมการรณรงค์งดสูบบุหรี่
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์งดสูบบุหรี่
ตารางที่ 52 แสดงข้อมูลกิจกรรมการรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด
ตารางที่ 53 แสดงข้อมูลกิจกรรมการรณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุจากการจารจร
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุจากจราจร
ตารางที่ 54 แสงดข้อมูลกิจกรรมการรณรค์การป้องกัน และควบคุมโรคเบาหวาน
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมควบคุมเบาหวาน
ตารางที่ 55 แสงดข้อมูลกิจกรรมการรณรงค์ควบคุมความดันโลหิต
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมควบคุมความดันโลหิต
ตารางที่ 56 แสดงข้อมูลกิจกรรมการรณรงค์ควบคุมไข้เลือดออก
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมควบคุมไข้เลือดออก
ตารางที่ 57 แสดงข้อมูลกิจกรรมการตรวจมะเร็งปากมดลูก
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมตรวจมะเร็งปากมดลูก
ตารางที่ 58 แสดงข้อมูลกิจกรรมการตรวจมะเร็งเต้านม
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมตรวจมะเร็งเต้านม
3.3.2 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านอาชีพประกอบด้วย การฝึกอบรมส่งเสริมอาชีพ การ
ส่งเสริมการท่องเที่ยว การส่งเสริมรายได้พิเศษของเด็ก เกษตรพอเพียง กลุ่มแม่บ้าน และ กลุ่ม
OTOP โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ตารางที่ 59 แสงข้อมูลการฝึกอาชีพเสริม
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมฝึก
อาชีพเสริม
ตารางที่ 60 แสดงข้อมูลกิจกรรมการส่งเสริมการ
ท่องเที่ยว
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
ส่งเสริมการท่องเที่ยว
ตารางที่ 61 แสดงข้อมูลกิจกรรมการส่งเสริม
รายได้พิเศษของเด็ก
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมรายได้พิเศษของเด็ก
ตารางที่ 62 แสดงข้อมูลกิจกรรมชีวิตพอเพียงตามแนวพระราชดำริ
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมชีวิตพอเพียงตามแนวพระราชดำริ
ตารางที่ 63 แสดงข้อมูลกิจรรมการจัดตั้งกลุ่มแม่บ้าน
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
จัดตั้งกลุ่มแม่บ้าน
ตารางที่ 64 แสดงข้อมูลกลุ่ม OTOP
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม OTOP
3.3.3 ข้อมูลด้านการออมทรัพย์ ประกอบด้วย การทำบัญชีรายรับ-จ่าย กองทุนหมุ่บ้าน กลุ่มฌาปณ
กิจ กองทุนประกอบอาชีพ และกองทุนร้านค้าในชุมชน โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ตารางที่ 65 แสงดข้อมูลการทำบัญชีครัวเรือน(รายรับ จ่าย)
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมทำบัญชีครัวเรือน
ตารางที่ 66 แสดงข้อมูลกองทุนหมู่บ้าน
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
กองทุนหมู่บ้าน
ตารางที่ 67 แสดงข้อมูลกลุ่มณาปนกิจ
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
กลุ่มฌาปนกิจ
ตารางที่ 68 แสดงข้อมูลกลุ่มออมทรัพย์
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
กลุ่มออมทรัพย์
ตารางที่ 69 แสดงข้อมูลกองทุนอาชีพ
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
กองทุนอาชีพ
ตารางที่ 70 แสดงข้อมูลร้านค้าชุมชน
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมร้านค้าชุมชน
3.3.4 ข้อมูลด้านศาสนาและศิปวัฒนธรรมประกอบด้วย การอนุรักษ์ศิปวัฒนธรรม การ
ทำบุญตักบาตร กิจกรรมวันปีใหม่ การส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม และการผึกปฏิบัติเกี่ยวกับศาสน
พิธี โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ตารางที่ 71 แสดงข้อมูลการอนุรักษ์ศิลปะและวัฒนธรรม
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม
ตารางที่ 72 แสดงข้อมูลการทำบุญตักบาตร
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมทำบุญตักบาตร
ตารางที่ 73 แสดงข้อมูลการทำกิจกรรมในวันปีใหม่ และสงกรานต์
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมวันปีใหม่สงกรานต์
ตารางที่ 74 แสดงข้อมูลการส่งเสริม
ศิลปะวัฒนธรรม
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมการส่งเสริมศิลปะวัฒนธรรม
ตารางที่ 75 แสดงข้อมูลการฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับศาสนพิธีและวันสำคัญทางศาสนา
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมศาสนพิธีและวันสำคัญทางศาสนา
3.3.5 ข้อมูลด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคมที่เกิดขึ้นในชุมชน ประกอบด้วย การป้องกัน
ยาเสพติด กลุ่มผู้สูงอายุ กิจกรรมเพื่อเยาวชนการป้องกันการขโมย กิจกรรมห่วงใยวัย 70 ปี
ส่งเสริมสถาบันทางครอบครัว การสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส การเลี้ยงดูผู้พิการ กองทุนพัฒนา
ชุมชน และกองทุนผู้สูงอายุ โดยมีรายละเอียดดังนี้
ตารางที่ 76 แสดงข้อมูลการการป้องกันยาเสพติด
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
ป้องกันยาเสพติด
ตารางที่ 77 แสดงข้อมูลกลุ่มผู้สูงอายุ
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มผู้สูงอายุ
ตารางที่ 78 แสดงข้อมูลการจัดกิจกรรมเพื่อเยาวชน
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อเยาวชน
ตารางที่ 79 แสดงข้อมูลการป้องกันการขโมย
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมการป้องกันขโมย
ตารางที่ 80 แสดงข้อมูลกิจกรรมห่วงใยวัย 70 ปี
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมห่วงใยวัย 70
ตารางที่ 81 แสดงข้อมูลการส่งเสริมสถาบันทางครอบครัว
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
ส่งเสริมสถาบันครอบครัว
ตารางที่ 82 แสดงข้อมูลการสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส ด้านการศึกษา อาชีพ
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมการสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส
ตารางที่ 83 แสดงข้อมูลการเลี้ยงดูผู้พิการ
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมเลี้ยงดูผู้พิการ
ตารางที่ 84 แสดงข้อมูลกองทุนพัฒนาชุมชน
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกองทุนพัฒนาชุมชน
ตารางที่ 85 แสดงข้อมูลกองทุนผู้สูงอายุ
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกองทุนผู้สูงอายุ
3.3.6 ข้อมูลด้านการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อมประกอบด้วย การเฝ้าระวังุณภาพน้ำ การประกวด
ชุมชนน่าอยู่ การเก็บขยะในชุมชน การอบรมการนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การขุดลอกคูคลอง การปลูกต้นไม้ให้สวยงาม ปรับปรุงหรือซ่อมแซมสาธารณูปโภค เช่น ท่อระบายน้ำ ไฟฟ้าในชุมชน
จัดคนในชุมชนเป็นผู้ทำความสะอาด และการรณรงค์ให้ทิ้งขยะในถัง โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ตารางที่ 86 แสดงข้อมูลการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำ
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
เฝ้าระวังคุณภาพน้ำ
ตารางที่ 87 แสดงข้อมูลการประกวดชุมชนน่าอยู
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
การประกวดชุมชนน่าอยู่
ตารางที่ 88 แสดงข้อมูลการเก็บขยะในชุมชน
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมเก็บขยะในชุมชนชน
ตารางที่ 89 แสดงข้อมูลการอบรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ตารางที่ 90 แสดงข้อมูลการชุดลอกคูคลอง
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
ตารางที่ 91 แสดงข้อมูลการปลูกต้นไม้ให้สวยงาม
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้ให้สวยงาม
ตารางที่ 92 แสดงข้อมูลการปรับปรุงหรือซ่อมแซมสาธารณูปโภค เช่น ท่อระบายน้ำ
และไฟฟ้า
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมปรับปรุงซ่อมแซมสาธารณูปโภค
ตารางที่ 93 แสดงข้อมูลการจัดคนในชุมชนเป็นผู้ทำความสะอาดเพื่อให้มีรายได้
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมการจัดคนทำความสะอาดเพื่อให้มีรายได้
ตารางที่ 94 แสดงข้อมูลการรณรงค์ให้ทิ้งขยะในถังขยะ และการจัดที่ใส่ขยะให้เป็นที่เรียบร้อย
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมทิ้งขยะในถัง
3.3.7 ข้อมูลด้านการเมืองการปกครองภายในชุมชน ประกอบด้วย การรณรงค์ให้ไปใช้สิทธิ์
เลือกตั้งทุก ๆ ครั้ง และการอบรมให้ความรุ้เกี่ยวกับการเมือง โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ตารางที่ 95 แสดงข้อมูลการรณรงค์ให้ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งทุก ๆ ครั้ง ที่มีการเลือกตั้ง
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
รณรงค์ให้ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง
ตาราง 96 แสดงข้อมูลการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับ
การเมือง
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เรื่องการเมือง
สรุปข้อมูลจากการสำรวจโดยแบบสอบถามระหว่างวันที่
..................
สำรวจโดยใช้แบบสอบถามจากครัวเรือนทั้งหมด 13 ครัวเรือนคิดเป็น 60 เปอร์เซนต์ของครัวเรือน
ทั้งหมดในชุมชน ในชุมชนนี้มีสมาชิกประมาณ ครัวเรือนส่วนใหญ่มีสมาชิกในครัวเรือน 4 คน คิดเป็นร้อย
ละ 30.8 ของประชากรทั้งหมด มีประชากรประกอบด้วยเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 47.6 และประชากรที่เป็นเพศ
หญิงคิดเป็นร้อยละ 52.4 ของประชากรทั้งหมด ชุมชน สน. ทุ่งครุ ประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่ว 21-30 ปี
คิดเป็นร้อยละ 36.51 ของประชากรทั้งหมด ชุมชน สน. ทุ่งครุ ประชากรส่วนใหญ่มีการศึกษาอยู่ในระดับ
ประถมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 27 ของประชากรทั้งหมด ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ คิดเป็นร้อยละ
100 ของประชากรทั้งหมด ประชากรส่วนใหญ่มีรายได้ในช่วง 0-5000 บาท คิดเป็นร้อยละ 14.29 ของ
ประชากรทั้งหมด ประชากรส่วนใหญ่มีรายจ่ายอยู่ในช่วง 0-5000 บาท คิดเป็นร้อยละ 23.81ของประชากร
ทั้งหมด ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้าง คิดเป็นร้อยละ 34.9 ของประชากรทั้งหมด ประชากรส่วน
ใหญ่ไม่มีอาชีพเสริม คิดเป็นร้อยละ 100 ของประชากรทั้งหมด ชุมชน สน. ทุ่งครุ ประชากรมีโรคประจำตัว
ได้แก่ ความดันโลหิต และส่วนใหญ่จะไม่ระบุ ชุมชน สน. ทุ่งครุ มีการหย่าร้าง คิดเป็นร้อยละ 7.7 ของ
ประชากรทั้งหมด ประชากรส่วนใหญ่ทะเลาะกันอาทิตย์ละ 1-2 ครั้ง คิดเป็นรัอยละ 61.5 ของประชากร
ทั้งหมด ในครัวเรือนส่วนใหญ่มีผู้ว่างงาน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 38.5 ของประชากรทั้งหมด ในชุมชน สน. ทุ่ง
ครุ มีผู้พิการ 1 คน 1 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 7.7 ของประชากรทั้งหมด ชุมชน สน. ทุ่งครุ มีผู้ติดสุรา 1 คน 1
ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 7.7 มีผู้ติดสุรา 2 คน 1 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 7.7 มีผู้ติดสุรา 3 คน 1 ครัวเรือน คิด
เป็นร้อยละ 7.7 ในครัวเรือนส่วนใหญ่มีผู้ติดบุหรี่ 2 คน คิดเป็นร้อยละ 30.8 มีผู้เล่นการพนัน คิดเป็นร้อยละ
38.5 ของประชากรทั้งหมด มีผู้เล่นการพนัน 2 คน 2 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 15.4 ของประชากรทั้งหมด
มีผู้ซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล 5 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 38.5 ของประชากรทั้งหมด ในครัวเรือนส่วนใหญ่มีผู้
ซื้อสลกกินแบ่งรัฐบาล 2 คน คิดเป็นร้อยละ 15.4 ของประชากรทั้งหมด ส่วนใหญ่มีรายจ่ายในการซื้อสลาก
กินแบ่งรัฐบาล 100 บาท คิดเป็นร้อยละ 15.4 ของประชากรทั้งหมด ชุมชนนี้ให้ความสำคัญเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย
ในด้านอาหารอยู่ในลำดับที่ 1 ชุมชนนี้ให้ความสำคัญเกี่ยวกับค่าเช่าบ้านอยู่ในลำดับที่ 1,2,6,7 และ 8
ชุมชนนี้ให้ความสำคัญเกี่ยวกับค่าน้ำค่าไฟ และค่าโทรศัพท์อยู่ในลำดับที่ 2 ชุมชนนี้ให้ความสำคัญเกี่ยวกับค่า
เล่าเรียนบุตรอยู่ในลำดับที่ 8 ชุมชนนี้ให้ความสำคัญเกี่ยวกับค่าเดินทางอยู่ในลำดับที่ 6 ชุมชนนี้ให้
ความสำคัญเกี่ยวกับค่าของใช้ในครัวเรือนอยู่ในลำดับที่ 2,3 และ 5 ชุมชนนี้ให้ความสำคัญเกี่ยวกับค่า
เครื่องใช้ส่วนตัวอยู่ในลำดับที่ 8 ชุมชนนี้ให้ความสำคัญเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลอยู่ในลำดับที่ 6 ประชากร
ส่วนใหญ่ในชุมชนมีเงินออม คิดเป็นร้อยละ 53.8 ของประชากรทั้งหมด ส่วนใหญ่ไม่ระบุจำนวนเงินออม คิด
เป็นร้อยละ 38.5 ครัวเรือนส่วนใหญ่มีหนี้สิน คิดเป็นเป็นร้อยละ 61.5 ของครัวเรือนทั้งหมด ส่วนใหญ่ไม่
ระบุหนี้สิน คิดเป็นร้อยละ 30.8 ครัวเรือนส่วนใหญ่ไม่ทำบัญชีรายรับรายจ่าย คิดเป็นร้อยละ 84.6
ด้านที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมของครัวเรือน คนในชุมชนสน. ทุ่งครุมีภูมิลำเนาเดิม ประชาชนที่
อาศัยอยู่ในชุมชน มาจากในเขตกรุงเทพ ฯ ได้แก่ ในเขตทุ่งครุเดิม และต่างจังหวัด ได้แก่ แพร่ เพชรบุรี สมทร
ปราการ และ อุตรดิตถ์ ประชากรส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในชุมชน 25 ปี คิดเป็นร้อยละ 23.1 ของครัวเรือน
ทั้งหมด ประชากรส่วนใหญ่ของครัวเรือนเช่าที่พักอาศัย คิดเป็นร้อยละ 76.9 ประชากรส่วนใหญ่มีจำนวน
พื้นที่อยู่อาศัย 9 ตรม. คิดเป็นร้อยละ 53.8 คนในชุมชนส่วนใหญ่มีลักษณะที่อยู่อาศัยเป็นบ้านเดี่ยวชั้นเดียว
คิดเป็นร้อยละ 38.5 และบ้านเดี่ยวสองชั้น คิดเป็นร้อยละ 38.5 ประชากรส่วนใหญ่ตอบว่ามีความปลอดภัยใน
ชีวิตและทรัพย์สินบริเวณที่อยู่อาศัยอยู่ในระดับปานกลาง ประชากรส่วนใหญ่ตอบว่าไม่มีการรบกวนจากขยะ
คิดเป็นเป็นร้อยละ 53.8 ประชากรส่วนใหญ่ตอบว่าไม่มีการรบกวนจากน้ำเน่าเสีย คิดเป็นร้อยละ 38.5
ประชากรส่วนใหญ่ตอบว่าถูกรบกวนจากน้ำท่วมในระดับปานกลาง ประชากรส่วนใหญาตอบว่าไม่ถูก
รบกวนจากเสียงดัง คิดเป็นร้อยละ 53.8 ประชากรส่วนใหญ่ตอบว่าถูกรบกวนจากจราจรติดขัดอยู่ในระดับ
ปานกลาง ประชากรส่วนใหญ่ตอบไม่ถูกรบกวนจากฝุ่นควันและก๊าซพิษ คิดเป็นร้อยละ 61.5 ประชากรส่วน
ใหญ่ตอบว่าได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานต่าง ๆ คิดเป็นร้อยละ 84.6 สิ่งที่ได้รับการสนับสนุน
ประชาชนที่อาศัยอยู่ในชุมชนส่วนใหญ่แล้ว จะได้รับการสนับสนุนในการพ่นหมอกควันกำจัดยุง
ความต้องการของชุมชน ประชาชนที่อาศัยอยู่ในชุมชนส่วนใหญ่แล้วมีความต้องการ จัดทำท่อระบายน้ำ การ
รักษาพยาบาล การส่งเสริมอาชีพ และการกำจัดขยะ ตามลำดับ
ในด้านการเข้าร่วมกิจกรรมประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายของ
ผู้สูงอายุ ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมเยาวชนรักกีฬา ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้า
ร่วมกิจกรรมเต้นแอโรบิค ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์งดสูบบุหรี่ ประชากรส่วน
ใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
รณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุจากจราจร ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมควบคุมเบาหวาน
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมควบคุมความดันโลหิต ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมควบคุมไข้เลือดออก ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมตรวจมะเร็งปากมดลูก
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมตรวจมะเร็งเต้านม ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมฝึกอาชีพเสริม ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว ประชากรส่วน
ใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมรายได้พิเศษของเด็ก ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
ชีวิตพอเพียงตามแนวพระราชดำริ ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมจัดตั้งกลุ่มแม่บ้าน
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม OTOP ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมทำ
บัญชีครัวเรือน ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกองทุนหมู่บ้าน ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุ
การเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มฌาปนกิจ ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกองทุนอาชีพ ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
ร้านค้าชุมชน ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ประชากรส่วน
ใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมทำบุญตักบาตร ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมวันปีใหม่
สงกรานต์ ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมการส่งเสริมศิลปะวัฒนธรรม ประชากรส่วนใหญ่
ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมศาสนพิธีและวันสำคัญทางศาสนา ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมป้องกันยาเสพติด ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มผู้สูงอายุ ประชากรส่วน
ใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อเยาวชน ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมการป้องกัน
ขโมย
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมห่วงใยวัย 70 ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
ส่งเสริมสถาบันครอบครัว ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมการสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส
ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมเลี้ยงดูผู้พิการ ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
กองทุนพัฒนาชุมชน ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกองทุนผู้สูงอายุ ประชากรส่วนใหญ่ไม่
ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมเฝ้าระวังคุณภาพน้ำ ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมการประกวด
ชุมชนน่าอยู่ ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมเก็บขยะในชุมชน ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุ
การเข้าร่วมกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม ประชากรส่วน
ใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้ให้สวยงาม ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
ปรับปรุงซ่อมแซมสาธารณูปโภค ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมการจัดคนทำความสะอาด
เพื่อให้มีรายได้ ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมทิ้งขยะในถัง ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการ
เข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์ให้ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ประชากรส่วนใหญ่ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมอบรมให้
ความรู้เรื่องการเมือง
|