ชุมชนทุ่งครุพัฒนา
ชุมชน ทุ่งครุพัฒนา หมู่ที่ 6 แขวง บางมด เขตทุ่งครุ จังหวัด กรุงเทพมหานครฯ
1. ข้อมูลพื้นฐานของชุมชน
1.1 ประวัติและความเป็นมาของชุมชน
ชุมชนทุ่งครุพัฒนา เดิมทีมีครัวเรือนแค่ 5-6 หลังคาเรือนอยู่ในความรับผิดชอบของเขตราษฎร์
บูรณะ แต่แยกมาเป็นเขตทุ่งครุ เมื่อปี 2543 คนในชุมชนมีอาชีพทำสวนส้มเกือบทุกครัวเรือนปลูกส้มบาง
มดเพื่อจำหน่ายในระยะเวลา 10 ปี ต่อมาคนในชุมชน เริ่มหันไปประกอบอาชีพอย่างอื่นมากขึ้น เนื่องจาก
การทำสวนส้มไม่ประสบผลสำเร็จเพราะน้ำที่ใช้ในการเพาะปลูกมีปัญหา คือ มีน้ำเค็มมาผสมกับน้ำจืดทำ
ให้ส้มของชาวบ้านตาย ต่อมาชาวบ้านจึงเลิกอาชีพการทำสวนส้ม และหันไปประกอบอาชีพรับจ้าง ส่วน
ประชาชนที่อพยพเข้ามาพักอาศัยอยู่ชุมชน ทุ่งครุพัฒนา ซึ่งส่วนใหญ่ประกอบอาชีพค้าขายและส่วนใหญ่
มาจากภาคอีสาน ชุมชนทุ่งครุพัฒนาเริ่มก่อตั้งอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2541 หรือประมาณ 9 ปีมาแล้ว
1.2 โครงสร้างพื้นฐานชุมชนเริ่มเข้าไปพัฒนาเมื่อปี 2535 โดย ได้รับการบริหารทางสาธารณูปโภคทั้ง
ไฟฟ้า น้ำประปา โทรศัพท์ และ ถนนหนทางอย่างเพียบพร้อม
1.3 สภาพปัจจุบัน ประชากรทั้งหมด 257 คน ชาย 126 คน หญิง 131 คน มีครัวเรือน 147 ครอบครัว มีบ้าน
97 หลังคาเรือน ข้อมูลจากสำนักงานเขตทุ่งครุ (เดือนตุลาคม 2549)
1.4 วัฒนธรรม/ประเพณี/ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในอดีต-ปัจจุบัน ทำบุญประเพณี วันขึ้นปีใหม่ ทำบุญ
ประเพณี วันสงกรานต์ รดน้ำดำหัวผู้หลักผู้ใหญ่ และประเพณีทั่วไปที่คนในชุมชนถือปฏิบัติตามปกติ ตาม
ปฏิทิน
1.5 ปัญหาในชุมชน
1. แหล่งน้ำในหมู่บ้านปัจจุบันเน่าเสีย เนื่องจากการทิ้งขยะมูลฝอย และการปล่อยน้ำ
เสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
2. ปัญหาเรื่องสาธารณะสุขชุมชน เช่น ไข้เลือดออก และแมลงวันชุกชุม
3. ปัญหายาเสพติดภายในชุมชน
1.6 การทำงานร่วมกับหน่วยงานภายนอกชุมชน
1. สถานีตำรวจนครบาลเขตทุ่งครุ
- จัดฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับปัญหายาเสพติดภายในชุมชน
- อบรมอาสาตำรวจชุมชน
2. สารธารณสุขชุมชน เข้ามาดูแลเรื่อง ไข้เลือดออก และตรวจวัดความดันให้กับผู้สูงอายุ
3. สำนักงานเขตทุ่งครุ
1.7 แผนที่ชุมชน
1.8 ภาพสภาพแวดล้อมของชุมชน
2. ข้อมูลแบบสัมภาษณ์ของคณะกรรมการชุมชน
ชื่อชุมชน -
ชื่อผู้ให้สัมภาษณ์ - ตำแหน่ง/หน้าที่ -
1. ที่ตั้งของชุมชน ม.6 ชุมชนทุ่งครุพัฒนา แขวงทุ่งครุ เขตทุ่งครุ กรุงเทพฯ
2. อาณาเขตติดต่อ
- ทิศเหนือติดกับ ถนนซอยประชาอุทิศ 76
- ทิศตะวันออกติดกับ ที่พักคนงานฝ่ายรักษาฯ
- ทิศใต้ติดกับ หมู่บ้าน
- ทิศตะวันตกติดกับ หมู่บ้าน
3. คณะกรรมการชุมชนมีบทบาทในการพัฒนาหรือการปกครองชุมชนอย่างไรบ้าง
- เป็นคนประสานกับประชาชนให้ไปสู่ การพัฒนา
- เป็นสื่อกลางในการรับฟังปัญหาเพื่อเป้าหมายในการพัฒนา
4. ภายในชุมชนมีสถานที่สำคัญอะไรบ้างและมีความเป็นมาอย่างไร
- ไม่มี
5. ชุมชนมีกฎระเบียบหรือข้อบังคับในการอยู่ร่วมกันภายในชุมชนอย่างไรบ้าง
กฎระเบียบหรือข้อบังคับ ใช้ระบบวินัยข้าราชการเป็นการบังคับ เช่น ห้ามเล่นการพนัน ห้ามดื่ม
เหล้า ห้ามส่งเสียงรบกวนเพื่อนข้างห้อง ห้ามทะเลาะวิวาท
6. ชุมชนมีนโยบายหรือแผนในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง
-
3. ข้อมูลแบบสอบถามของชุมชน
3.1. ส่วนที่ 1 ข้อมูลด้านประชากรของสมาชิกใน
ครัวเรือน
3.1.1 ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนของชุมชน
ประกอบด้วยข้อมูลรวมของสมาชิกในครัวเรือน
ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเพศชาย และ
ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเพศหญิง
ตาราง 1 แสดงร้อยละของครัวเรือนที่มีสมาชิก
1-7 คน
ครัวเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนนี้มีสมาชิก
ประมาณ 4-5 คนต่อครัวเรือน
3.1.2 ข้อมูลส่วนบุคคลของสมาชิกในครัวเรือน
ตาราง 2 ร้อยละของเพศชายและเพศหญิง
ชุมชนร่วมใจพัฒนาประชากรประกอบด้วยเพศ
ชาย ร้อยละ 44.7 เพศหญิงร้อยละ 48.7 และไม่
ตอบร้อยละ 6.6
ตาราง 3 ร้อยละของอายุประชากรในชุมชน
ชุมชนร่วมใจพัฒนาประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่
ในช่วง 51-60 ปี ร้อยละ 16.23 รองลงมาคือ ผู้ใหญ่
ในช่วงอายุ 31-40 ปีร้อยละ 15.79 และผู้สูงอายุ
ร้อยละ 9.65
ตาราง 4 ระดับการศึกษา
ชุมชนร่วมใจพัฒนาประชากรส่วนใหญ่มี
การศึกษาในระดับประถมศึกษา
ตาราง 5 การนับถือศาสนา
ชุมชนร่วมใจพัฒนาประชากรส่วนใหญ่นับถือ
ศาสนาพุทธ
ตาราง 6 รายได้ของคนในชุมชน
ชุมชนร่วมใจพัฒนาประชากรส่วนใหญ่มีรายได้
อยู่ในช่วง 5001-10000 บาท
ตาราง 7 รายจ่ายของคนในชุมชน
ชุมชนร่วมใจพัฒนาประชากรส่วนใหญ่มี
รายจ่ายอยู่ในช่วง 0-5000 บาท
ตาราง 8 อาชีพหลัก ของคนในชุมชน
ชุมชนร่วมใจพัฒนาประชากรส่วนใหญ่ ประกอบ
อาชีพหลักคือ รับจ้าง
ตาราง 9 อาชีพเสริม ของคนในชุมชน
คนในชุมชนร่วมใจส่วนใหญ่ร้อยละ 96.4 ไม่มี
อาชีพเสริม
ตาราง 10 โรคประจำตัวของคนในชุมชน
โรคประจำตัว ของคนในชุมชนทุ่งครุพัฒนาได้แก่
หอบหืด ความดันโลหิต เบาหวาน ภูมิแพ้ หัวใจ
กระเพาะ มะเร็ง
3.1.3 สถานะภาพครอบครัวในชุมชน
(ตารางที่ 11)
คนในชุมชนอยู่ด้วยกันร้อยละ 73.5
3.1.4 ข้อมูลความขัดแย้งหรือการทะเลาะกันใน
ครัวเรือน (ตารางที่ 12)
คนในชุมชนร่วมใจพัฒนาร้อยละ 43.5
ไม่ทะเลาะกัน
3.1.5 จำนวนข้อมูลผู้ว่างงานในครัวเรือน
(ตารางที่ 13)
ในครัวเรือนในชุมชนส่วนใหญ่มีคนว่างงาน
ประมาณ 1-2 คน
3.1.6 ข้อมูลจำนวนผู้พิการในครัวเรือน
(ตารางที่ 14)
มีอยู่ประมาณ 3 ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็นร้อยละ
4.1 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.7 ข้อมูลจำนวนผู้ติดสุราในครัวเรือน
(ตารางที่ 15)
มีผู้ติดสุรา 1 คนคิดเป็นร้อยละ 10.2 ของครัวเรือน
ทั้งหมด
3.1.8 ข้อมูลจำนวนผู้ติดบุหรี่ในครัวเรือน
(ตารางที่ 16)
มีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คนคิดเป็นร้อยละ 16.3
ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.9 ข้อมูลการเล่นการพนันในครัวเรือน
ประกอบด้วย การเล่นการพนันของสมาชิกใน
ครัวเรือน และข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่
เล่นการพนัน
ข้อมูลการเล่นพนันของสมาชิกในครัวเรือน
(ตารางที่ 17)
มีเล่นการพนันคิดเป็นร้อยละ 10.2
ของครัวเรือนทั้งหมด
ข้อมูลจำนวนสมาชิกที่เล่นการพนันในครัวเรือน
(ตารางที่ 18)
มีผู้เล่นการพนัน 3 คน 1 ครอบครัว คิดเป็นร้อย
ละ 10.2 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.10 ข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของ
สมาชิกในครัวเรือน ประกอบด้วย ข้อมูลการซื้อ
สลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกในครัวเรือน
ข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล และข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลาก
กินแบ่งรัฐบาล
ข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกใน
ครัวเรือน (ตารางที่ 19)
มีผู้ซื้อกลากกินแบ่งคิดเป็นร้อยละ 38.8 ของ
ครัวเรือนทั้งหมด
ข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล (ตารางที่ 20)
(ตารางที่ 19-20) ร้อยละ 22.4 ของครัวเรือน
ทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล ส่วนใหญ่จะซื่อ
ประมาณ 1 คนในครอบครัว
ข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล
(ตารางที่ 21)
ส่วนใหญ่ใช้เงินซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลเดือนละ
200 บาท
3.1.11 ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายของ
ครัวเรือน ประกอบด้วย ค่าอาหาร ค่าเช่าบ้าน
หรือผ่านบ้าน ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ค่า
การศึกษาบุตร ค่าเดินทาง ค่าเครื่องใช้ใน
ครัวเรือน ค่าเครื่องใช้ส่วนตัว และค่า
รักษาพยาบาล
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าอาหารของครัวเรือน
(ตารางที่ 22)
ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 1
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านของครัวเรือน
(ตารางที่ 23)
ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 1
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
น้ำ ค่าไฟ และค่าโทรศัพท์ของครัวเรือน (ตารางที่
24)
ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ
อันดับ 2
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
การศึกษาของบุตร
(ตารางที่ 25)
ค่าเล่าเรียนบุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ
อันดับ 3
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เดินทาง (ตารางที่ 26)
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้
ความสำคัญอันดับ 5
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
ของใช้ในครัวเรือน (เช่น สบู่ แชมพู ผงซักฟอก
เครื่องใช้ไฟฟ้า ฯลฯ) (ตารางที่ 27)
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่ แชมพู ผงซักฟอก
เครื่องใช้ไฟฟ้า มีความสำคัญอันดับ 3
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เครื่องใช้ส่วนตัว (เช่น เสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้า
ฯลฯ) (ตารางที่ 28)
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัวให้
ความสำคัญอันดับ 7
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
รักษาพยาบาล (ตารางที่ 29)
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้ความสำคัญ
อันดับ8
3.1.12 ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน
ประกอบด้วย ข้อมูลการออมเงิน และข้อมูล
จำนวนเงินออม
ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน
(ตารางที่ 30)
มีการออมเงินร้อยละ 46.9 ของครัวเรือนทั้งหมด
ข้อมูลจำนวนเงินออมในครัวเรือน
(ตารางที่ 31)
ร้อยละ 11.59 ของครัวเรือนมีเงินออม 1-5000
บาท
3.1.13 ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน
ประกอบด้วย ข้อมูลการมีหนี้สิน และข้อมูล
จำนวนหนี้สิน
ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน
(ตารางที่ 32)
ร้อยละ 55.1 ของครัวเรือนมีหนี้สิน
ข้อมูลจำนวนหนี้สินในครัวเรือน
(ตารางที่ 33)
ร้อยละ 30.43 ของครัวเรือนมีหนี้สินเป็นจำนวน
เงิน 100,001-500,000 บาท
3.1.14 ข้อมูลการทำรายรับ รายจ่าย
(ตารางที่ 34)
มีครอบครัวใดที่ทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายเป็น
ร้อยละ26.5
3.2 ส่วนที่ 2 ข้อมูลด้านที่อยู่อาศัย
3.2.1 ภูมิลำเนาเดิม
ต่างจังหวัดได้แก่
อ่างทอง 2 ราย
สมุทรปราการ 3 ราย
นครศรีธรรมราช 3 ราย
สระแก้ว 1 ราย
ศรีสะเกษ 1 ราย
ชัยนาท 1 ราย
เพชรบุรี 1 ราย
กรุงเทพฯและปริมณฑลได้แก่
กรุงเทพฯ 1 ราย
ยานนาวา 2 ราย
บุคคโล 1 ราย
สาทร 1 ราย
สาธุประดิษฐ์ 1 ราย
บางครุ 1 ราย
ครุใน 1 ราย
วงเวียนใหญ่ 1 ราย
บางมด 1 ราย
ดุสิต 1 ราย
สามเสน 1 ราย
3.2.2 ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในชุมชน
(ตารางที่ 35)
ประชากรส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในชุมชนประมาณ 6-
10 ปี
3.2.3 การครอบครองที่อยู่อาศัยประกอบด้วยข้อมูล
การครอบครองที่อยู่อาศัย และข้อมูลด้านจำนวน
พื้นที่อยู่อาศัย
การครอบครองที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 36)
ที่พักอาศัยส่วนใหญ่เช่าอยู่ ร้อยละ 53.6
จำนวนพื้นที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 37)
ส่วนใหญ่มีพื้นที่อยู่อาศัยประมาณ 51-60 ตรม.
3.2.4 ลักษณะของที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 38)
ส่วนใหญ่ที่อยู่อาศัยเป็นบ้านเดี่ยวสองชั้นร้อยละ
63.3
3.2.5 บริเวณที่อยู่อาศัยของท่านมีความปลอดภัยใน
ชีวิตและทรัพย์สินหรือไม่
(ตารางที่ 39)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 62.3 เห็นว่ามีความปลอดภัยใน
ระดับปานกลาง
3.2.6 ครัวเรือนของท่านถูกรบกวนจากภาวะต่าง ๆ
หรือไม่
ถูกรบกวนจากขยะ (ตารางที่ 40)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 42.9 เห็นว่าถูกรบกวนจาก
ปัญหาขยะในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากน้ำเน่าเสีย (ตารางที่ 41)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 28.6 เห็นว่าไม่ถูกรบกวนจาก
ปัญหาน้ำเสียจนถึงถูกรบกวนในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากน้ำท่วม (ตารางที่ 42)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 30.6 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำ
ท่วมในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากเสียงดัง (ตารางที่ 43)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 30.6 เห็นว่าถูกรบกวนจาก
เสียงดังในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากการจราจรติดขัด
(ตารางที่ 44)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 26.5 เห็นว่าถูกรบกวนจากจราจร
ติดขัดในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากฝุ่นควันและก๊าซพิษ
(ตารางที่ 45)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 34.7 เห็นว่าถูกรบกวนจากฝุ่น
ควันและก๊าซพิษในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากด้านอื่น ๆ (ตารางที่ 46)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 63.3 ไม่ตอบว่าถูกรบกวนจากสิ่ง
อื่นๆ
3.2.7 ในรอบปีที่ผ่านมาครัวเรือนของท่านได้รับ
การช่วยเหลือหรือการสนับสนุน ด้านใดบ้างและ
จากหน่วยงานใด (เช่น) ค่าเล่าเรียนบุตร การ
ส่งเสริมอาชีพ การพ่นหมอกควันกำจัดยุง)
(ตารางที่ 47)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 69.0 ได้รับความช่วยเหลือจาก
หน่วยงานต่างๆ
สิ่งที่ได้รับการสนับสนุน
- มีการพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย 16 ราย
- ท่อระบายน้ำ 1 ราย
- รักษาสุขภาพ 1 ราย
- สาธารณสุข 2 ราย
- ค่าเล่าเรียนบุตร 1 ราย
- ส่งเสริมอาชีพ1 ราย
ความต้องการการสนับสนุน
- ท่อระบายน้ำ 3 ราย
- ความปลอดภัย 3 ราย
- อาชีพเสริม 3 ราย
- กองทุนหมู่บ้าน 1 ราย
- ไฟฟ้าริมถนน 1 ราย
- สวัสดิการค่าเก็บขยะ 3 ราย
- จราจร 1 ราย
- บ้านพักอาศัย 1 ราย
- ถนนเข้าหมู่บ้าน 1 ราย
- สาธารณูปโภค 1 ราย
- การศึกษา 1 ราย
- แก้ปัญหายาเสพติด 1 ราย
3.3 ส่วนที่ 3 ข้อมูลด้านการเป็นสมาชิกกลุ่มหรือการร่วมทำกิจกรรมที่ได้รับการส่งเสริม
3.3.1 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านสุขภาพ
กิจกรรมออกกำลังกายผู้สูงอายุ (ตารางที่ 48)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 24.5 ตอบว่าไม่เข้าร่วม
กิจกรรมสุขภาพ
เยาวชนรักกีฬา (ตารางที่ 49)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 26.5 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
เยาวชนรักกีฬา
เต้นแอโรบิค (ตารางที่ 50)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 38.8 ตอบว่าไม่เข้าร่วม
กิจกรรมเต้นแอโรบิค
งดสูบบุหรี่ (ตารางที่ 51)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 24.5 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมงด
สูบบุหรี่
ต่อต้านยาเสพติด (ตารางที่ 52)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 26.5 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ต่อต้านยาเสพติด
ป้องกันอุบัติเหตุ (ตารางที่ 53)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 28.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ป้องกันอุบัติเหตุ
ควบคุมเบาหวาน (ตารางที่ 54)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 22.4 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ควบคุมเบาหวาน
ควบคุมความดันโลหิต (ตารางที่ 55)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 24.5 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ควบคุมความดันโลหิต
ควบคุมไข้เลือดออก (ตารางที่ 56)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 53.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ควบคุมไข้เลือดออก
ตรวจมะเร็งปากมดลูก (ตารางที่ 57)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 34.7ตอบว่าไม่เข้าร่วมกิจกรรม
ตรวจมะเร็งปากมดลูก
ตรวจมะเร็งเต้านม (ตารางที่ 58)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 30.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ควบคุมมะเร็งเต้านม
3.3.2 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านอาชีพ
ฝึกอาชีพเสริม (ตารางที่ 59)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 40.8 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมฝึก
อาชีพเสริม
ส่งเสริมการท่องเที่ยว (ตารางที่ 60)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 40.8 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ส่งเสริมการท่องเที่ยว
ส่งเสริมรายได้เด็ก (ตารางที่ 61)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 38.8 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมเสริม
รายได้เด็ก
กิจกรรมชีวิตพอเพียง (ตารางที่ 62)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.0 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมชีวิต
พอเพียง
กลุ่มแม่บ้าน (ตารางที่ 63)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 34.7 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่ม
แม่บ้าน
OTOP (ตารางที่ 64)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 38.8 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
OTOP
3.3.3 ข้อมูลด้านการออมทรัพย์
การทำบัญชีครัวเรือน (ตารางที่ 65)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 38.8 ตอบว่าไม่ทำบัญชี
ครัวเรือน
กองทุนหมู่บ้าน (ตารางที่ 66)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 76 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
กองทุนหมู่บ้าน
กลุ่มณาปนกิจ (ตารางที่ 67)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 32.7ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
กลุ่มณาปนกิจ
กลุ่มออมทรัพย์ (ตารางที่ 68)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 30.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่ม
ออมทรัพย์
กองทุนอาชีพ (ตารางที่ 49)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 34.7 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
กองทุนอาชีพ
ร้านค้าชุมชน (ตารางที่ 70)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 34.7 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ร้านค้าชุมชน
ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.9 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมออม
ทรัพย์อื่นๆ
3.3.4 ข้อมูลด้านศาสนาและศิลปะ วัฒนธรรม
อนุรักษ์ศิลปะ (ตารางที่ 72)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 26.5 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่ม
อนุรักษ์ศิลปะ
การทำบุญตักบาตร (ตารางที่ 73)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 63.3 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
ทำบุญตักบาตร
วันปีใหม่สงกรานต์ (ตารางที่ 74)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 65.3 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
กิจกรรมปีใหม่สงกรานต์
การส่งเสริมศิลปะ (ตารางที่ 75)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 22.4 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
กิจกรรมส่งเสริมศิลปะ
ศาสนพิธี (ตารางที่ 76)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 18.4 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ศาสนพิธี
พิธีอื่นๆ (ตารางที่ 77)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.0 ตอบว่าไม่มีพิธีอื่นๆ
3.3.5 ข้อมูลด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม
ป้องกันยาเสพติด (ตารางที่ 78)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 18.4 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ป้องกันยาเสพติด
กลุ่มผู้สูงอายุ (ตารางที่ 79)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 24.5 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่ม
ผู้สูงอายุ
กิจกรรมเยาวชน (ตารางที่ 80)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 20.4 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
เยาวชน
ป้องกันขโมย (ตารางที่ 81)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 20.4 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ป้องกันขโมย
กิจกรรมห่วงใยวัย 70 (ตารางที่ 82)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 34.7 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ห่วงใยวัย 70
ส่งเสริมสถาบันครอบครัว (ตารางที่ 83)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 26.5 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ส่งเสริมสถาบันครอบครัว
กิจกรรมสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส(ตารางที่ 84)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 32.7 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
สงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส/ผู้พิการ
กองทุนพัฒนาชุมชน (ตารางที่ 85)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 18.4 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
กองทุนพัฒนาชุมชน
กองทุนผู้สูงอายุ (ตารางที่ 86)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 26.5 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
กองทุนผู้สูงอายุ
3.3.6 ข้อมูลด้านการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อม
ระวังคุณภาพน้ำ (ตารางที่ 87)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 42.9 ตอบว่าไม่เข้าร่วม
กิจกรรมเฝ้าระวังคุณภาพน้ำ
ชุมชนน่าอยู่ (ตารางที่ 88)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 28.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ชุมชนน่าอยู่
เก็บขยะในชุมชน (ตารางที่ 89)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 22.4ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
เก็บขยะในชุมชน
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (ตารางที่ 90)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 24.5 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ขุดลอกคูคลอง (ตารางที่ 91)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 28.6 ตอบว่าไม่มีร่วมกิจกรรม
ขุดลอกคูคลอง
ปลูกต้นไม้ (ตารางที่ 92)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 26.5 ตอบว่าไม่มีร่วมกิจกรรม
ปลูกต้นไม้
ซ่อมแซมสาธารณูปโภค (ตารางที่ 93)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 32.7 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ซ่อมแซมสาธารณูปโภค
ทำความสะอาด (ตารางที่ 94)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 30.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมทำ
ความสะอาด
ทิ้งขยะในถัง (ตารางที่ 95)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 24.5ตอบว่า เข้าร่วมกิจกรรม
ทิ้งขยะในถัง
3.3.7 ข้อมูลด้านการเมืองการปกครอง
รณรงค์เลือกตั้ง (ตารางที่ 96)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 59.2 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
รณรงค์เลือกตั้ง
อบรมความรู้การเมือง (ตารางที่ 97)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 30.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
อบรมความรู้การเมือง
สรุปข้อมูลจากการสำรวจโดยแบบสอบถามระหว่างวันที่
..................
สำรวจโดยใช้แบบสอบถามจากครัวเรือนทั้งหมด 49 ครัวเรือนคิดเป็น 50 เปอร์เซ็นต์ของ
ครัวเรือนทั้งหมดในชุมชน ครัวเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนนี้มีสมาชิกประมาณ 4-5 คนต่อครัวเรือน ชุมชน
ร่วมใจพัฒนาประชากรประกอบด้วยเพศชาย ร้อยละ 44.7 เพศหญิงร้อยละ 48.7 และไม่ตอบร้อยละ 6.6
ชุมชนร่วมใจพัฒนาประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง 51-60 ปี ร้อยละ 16.23 รองลงมาคือ ผู้ใหญ่
ในช่วงอายุ 31-40 ปีร้อยละ 15.79 และผู้สูงอายุร้อยละ 9.65 ชุมชนร่วมใจพัฒนาประชากรส่วนใหญ่มี
การศึกษาในระดับประถมศึกษา ชุมชนร่วมใจพัฒนาประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ชุมชนร่วม
ใจพัฒนาประชากรส่วนใหญ่มีรายได้อยู่ในช่วง 5001-10000 บาท ชุมชนร่วมใจพัฒนาประชากรส่วน
ใหญ่มีรายจ่ายอยู่ในช่วง 0-5000 บาท ชุมชนร่วมใจพัฒนาประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพหลักคือ
รับจ้าง คนในชุมชนร่วมใจส่วนใหญ่ร้อยละ 96.4 ไม่มีอาชีพเสริม โรคประจำตัว ของคนในชุมชนทุ่งครุ
พัฒนาได้แก่ หอบหืด ความดันโลหิต เบาหวาน ภูมิแพ้ หัวใจ กระเพาะ มะเร็ง คนในชุมชนอยู่ด้วยกัน
ร้อยละ 73.5 คนในชุมชนร่วมใจพัฒนาร้อยละ 43.5 ไม่ทะเลาะกัน ในครัวเรือนในชุมชนส่วนใหญ่มีคน
ว่างงาน ประมาณ 1-2 คน มีอยู่ประมาณ 3 ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็นร้อยละ 4.1 ของครัวเรือนทั้งหมด
มีผู้ติดสุรา 1 คนคิดเป็นร้อยละ 10.2 ของครัวเรือนทั้งหมด มีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คนคิดเป็นร้อยละ 16.3
ของครัวเรือนทั้งหมด มีเล่นการพนันคิดเป็นร้อยละ 10.2 ของครัวเรือนทั้งหมด มีผู้เล่นการพนัน 3 คน
1 ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 10.2 ของครัวเรือนทั้งหมด มีผู้ซื้อกลากกินแบ่งคิดเป็นร้อยละ 38.8 ของ
ครัวเรือนทั้งหมด ร้อยละ 22.4 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล ส่วนใหญ่จะซื้อประมาณ 1
คนในครอบครัว ส่วนใหญ่ใช้เงินซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลเดือนละ 200 บาท ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเป็น
ค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 1 ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 1
ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 2 ค่าเล่าเรียนบุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ
อันดับ 3 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้ความสำคัญอันดับ 5 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่ แชมพู
ผงซักฟอก เครื่องใช้ไฟฟ้า มีความสำคัญอันดับ 3 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัวให้ความสำคัญ
อันดับ 7 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้ความสำคัญอันดับ 8 มีการออมเงินร้อยละ 46.9 ของ
ครัวเรือนทั้งหมด ร้อยละ 11.59 ของครัวเรือนมีเงินออม 1-5000 บาท ร้อยละ 55.1 ของครัวเรือนมี
หนี้สิน ร้อยละ 30.43 ของครัวเรือนมีหนี้สินเป็นจำนวนเงิน 100,001-500,000 บาท มีครอบครัวใดที่ทำ
บัญชีรายรับ-รายจ่ายเป็นร้อยละ26.5
ด้านที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมของครัวเรือน ประชากรมีภูมิลำเนาเดิมจากต่างจังหวัดได้แก่
อ่างทอง 2 ราย สมุทรปราการ 3 ราย นครศรีธรรมราช 3 ราย สระแก้ว 1 ราย ศรีสะเกษ 1 ราย
ชัยนาท 1 ราย เพชรบุรี 1 ราย จากกรุงฯและปริมณฑลได้แก่ กรุงเทพฯ 1 ราย ยานนาวา 2 ราย
บุคคโล 1 ราย สาทร 1 ราย สาธุประดิษฐ์ 1 ราย บางครุ 1 ราย ครุใน 1 ราย วงเวียนใหญ่ 1 ราย
บางมด 1 ราย ดุสิต 1 ราย สามเสน 1 ราย ประชากรส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในชุมชนประมาณ 6-10 ปี
ที่พักอาศัยส่วนใหญ่เช่าอยู่ ร้อยละ 53.6 ส่วนใหญ่มีพื้นที่อยู่อาศัยประมาณ 51-60 ตรม. ส่วนใหญ่ที่อยู่
อาศัยเป็นบ้านเดี่ยวสองชั้นร้อยละ 63.3 ส่วนใหญ่ร้อยละ 62.3 เห็นว่ามีความปลอดภัยในระดับปานกลาง
ส่วนใหญ่ร้อยละ 42.9 เห็นว่าถูกรบกวนจากปัญหาขยะในระดับน้อย ส่วนใหญ่ร้อยละ 28.6 เห็นว่าไม่ถูก
รบกวนจากปัญหาน้ำเสียจนถึงถูกรบกวนในระดับน้อย ส่วนใหญ่ร้อยละ 30.6 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำ
ท่วมในระดับปานกลาง ส่วนใหญ่ร้อยละ 30.6 เห็นว่าถูกรบกวนจากเสียงดังในระดับน้อย ส่วนใหญ่
ร้อยละ 26.5 เห็นว่าถูกรบกวนจากจราจรติดขัดในระดับน้อย ส่วนใหญ่ร้อยละ 34.7 เห็นว่าถูกรบกวน
จากฝุ่นควันและก๊าซพิษในระดับปานกลาง ส่วนใหญ่ร้อยละ 63.3 ไม่ตอบว่าถูกรบกวนจากสิ่งอื่นๆ
ส่วนใหญ่ร้อยละ 69.0 ได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆ สิ่งที่ได้รับการสนับสนุน มีการพ่น
หมอกควันกำจัดยุงลาย 16 ราย ท่อระบายน้ำ 1 ราย รักษาสุขภาพ 1 ราย สาธารณสุข 2 ราย ค่าเล่าเรียน
บุตร 1 ราย ส่งเสริมอาชีพ1 ราย ความต้องการการสนับสนุน ท่อระบายน้ำ 3 ราย ความปลอดภัย 3 ราย
อาชีพเสริม 3 ราย กองทุนหมู่บ้าน 1 ราย ไฟฟ้าริมถนน 1 ราย สวัสดิการค่าเก็บขยะ 3 ราย จราจร 1 ราย
บ้านพักอาศัย 1 ราย ถนนเข้าหมู่บ้าน 1 ราย สาธารณูปโภค 1 ราย การศึกษา 1 ราย แก้ปัญหายาเสพติด
1 ราย
ด้านการเป็นสมาชิกกลุ่มหรือการร่วมทำกิจกรรมที่ได้รับการส่งเสริม ส่วนใหญ่ร้อยละ 24.5 ตอบ
ว่าไม่เข้าร่วมกิจกรรมสุขภาพ ส่วนใหญ่ร้อยละ 26.5 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมเยาวชนรักกีฬา ส่วนใหญ่
ร้อยละ 38.8 ตอบว่าไม่เข้าร่วมกิจกรรมเต้นแอโรบิค ส่วนใหญ่ร้อยละ 24.5 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมงดสูบ
บุหรี่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 26.5 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมต่อต้านยาเสพติด ส่วนใหญ่ร้อยละ 28.6 ตอบว่าไม่มี
กิจกรรมป้องกันอุบัติเหตุ ส่วนใหญ่ร้อยละ 22.4 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมควบคุมเบาหวาน ส่วนใหญ่ร้อย
ละ 24.5 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมควบคุมความดันโลหิต ส่วนใหญ่ร้อยละ 53.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมควบคุม
ไข้เลือดออก ส่วนใหญ่ร้อยละ 34.7 ตอบว่าไม่เข้าร่วมกิจกรรมตรวจมะเร็งปากมดลูก ส่วนใหญ่ร้อยละ
30.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมควบคุมมะเร็งเต้านม ด้านกิจกรรมอาชีพ ส่วนใหญ่ร้อยละ 40.8 ตอบว่าไม่มี
กิจกรรมฝึกอาชีพเสริม ส่วนใหญ่ร้อยละ 40.8 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว ส่วนใหญ่ร้อย
ละ 38.8 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมเสริมรายได้เด็ก ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.0 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมชีวิตพอเพียง
ส่วนใหญ่ร้อยละ 34.7 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่มแม่บ้าน ส่วนใหญ่ร้อยละ 38.8 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
OTOP ส่วนใหญ่ร้อยละ 38.8 ตอบว่าไม่ทำบัญชีครัวเรือน ส่วนใหญ่ร้อยละ 76 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
กองทุนหมู่บ้าน ส่วนใหญ่ร้อยละ 32.7 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มณาปนกิจ ส่วนใหญ่ร้อยละ 30.6 ตอบ
ว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์ ส่วนใหญ่ร้อยละ 34.7 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกองทุนอาชีพ ส่วนใหญ่ร้อย
ละ 34.7 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมร้านค้าชุมชน ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.9 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมออมทรัพย์อื่นๆ
ส่วนใหญ่ร้อยละ 26.5 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่มอนุรักษ์ศิลปะ ส่วนใหญ่ร้อยละ 63.3 ตอบว่าเข้าร่วม
กิจกรรมทำบุญตักบาตร ส่วนใหญ่ร้อยละ 65.3 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมกิจกรรมปีใหม่สงกรานต์ ส่วน
ใหญ่ร้อยละ 22.4 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกิจกรรมส่งเสริมศิลปะ ส่วนใหญ่ร้อยละ 18.4 ตอบว่าไม่มี
กิจกรรมศาสนพิธี ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.0 ตอบว่าไม่มีพิธีอื่นๆ ส่วนใหญ่ร้อยละ 18.4 ตอบว่าไม่มี
กิจกรรมป้องกันยาเสพติด ส่วนใหญ่ร้อยละ 24.5 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่มผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่ร้อยละ
20.4 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมเยาวชน ส่วนใหญ่ร้อยละ 20.4 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมป้องกันขโมย ส่วนใหญ่
ร้อยละ 34.7 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมห่วงใยวัย 70 ส่วนใหญ่ร้อยละ 26.5 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมส่งเสริม
สถาบันครอบครัว ส่วนใหญ่ร้อยละ 32.7 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส/ผู้พิการ ส่วนใหญ่
ร้อยละ 18.4 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกองทุนพัฒนาชุมชน ส่วนใหญ่ร้อยละ 26.5 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
กองทุนผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่ร้อยละ 42.9 ตอบว่าไม่เข้าร่วมกิจกรรมเฝ้าระวังคุณภาพน้ำ ส่วนใหญ่ร้อยละ
28.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมชุมชนน่าอยู่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 22.4ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมเก็บขยะในชุมชน
ส่วนใหญ่ร้อยละ 24.5 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ส่วนใหญ่ร้อยละ 28.6 ตอบว่าไม่มีร่วม
กิจกรรมขุดลอกคูคลอง ส่วนใหญ่ร้อยละ 26.5 ตอบว่าไม่มีร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้ ส่วนใหญ่ร้อยละ
32.7 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมซ่อมแซมสาธารณูปโภค ส่วนใหญ่ร้อยละ 30.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมทำความ
สะอาด ส่วนใหญ่ร้อยละ 24.5 ตอบว่า เข้าร่วมกิจกรรมทิ้งขยะในถัง ส่วนใหญ่ร้อยละ 59.2 ตอบว่าเข้า
ร่วมกิจกรรมรณรงค์เลือกตั้ง ส่วนใหญ่ร้อยละ 30.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมอบรมความรู้การเมือง
|