ชุมชนร่วมรัฐสามัคคี
ชุมชนร่วมรัฐสามัคคี แขวงบางมด เขต ทุ่งครุ จังหวัด กรุงเทพมหานคร.
1. ข้อมูลพื้นฐานของชุมชน
1.1 ประวัติและความเป็นมาของชุมชน
    ที่มาของชื่อชุมชนบ้าน/ชุมชนร่วมรัฐสามัคคี หรือที่เรียกว่า ชุมชนดอนกระต่าย ชุมชนแห่งนี้มีผู้
เข้ามาตั้งบ้านเรือน อาศัยเป็นเวลา เกือบ 20 ปี ซึ่งเป็นพี่น้องมุสลิมเป็นทั้งหมด แต่พอเริ่มมีการจัดสรรที่ดินก็
เริ่มมีคนพุทธเข้ามาอยู่มากขึ้น จนในปัจจุบันเป็นคนพุทธส่วนใหญ่ ชุมชนแห่งนี้ตั้งเป็นทางการในปี
พ.ศ. 2547 คนในชุมชนทยอยกันเข้ามาปลูกบ้านซึ่งเป็นที่ดินจัดสรรเป็นแปลงๆ คนในชุมชนส่วนใหญ่จะ
ต่างคนต่างอยู่แต่ก็ไม่มีปัญหาขัดแย้งกัน มีการรวมกลุ่มกันเป็นย่อมๆ ซึ่งตอนนี้สามารถรวมกลุ่มกันได้
ประมาณ 200 ครอบครัว
ชุมชนแห่งนี้มีการผสมผสานการอยู่ร่วมกันระหว่าพี่น้องไทย- พุทธ และมุสลิมได้อย่างลงตัว โดย
ต่างฝ่ายก็ยังคงยึดมั่นในหลักศาสนาของตนเองและร่วมมือกันเพื่อให้เกิดการพัฒนาของชุมชนแห่งนี้เรื่อยมา
โดยจะเห็นได้จากการจัดตั้งคณะกรรมการของชุมชน
การประกอบอาชีพของคนส่วนใหญ่ของชุมชนในปัจจุบัน ก็เป็นอาชีพ ข้าราชการ ค้าขาย และ
รับจ้าง
1.2 โครงสร้างพื้นฐานชุมชนเริ่มเข้าไปพัฒนาเมื่อปี พ.ศ.2530
    เมื่อชุมชนเริ่มมีความหนาแน่นมากขึ้น ก็เริ่มมีการพัฒนาสาธารณูปโภคเรื่องมา เช่น ถนน ไฟฟ้า
น้ำประปา มีคณะกรรมการชุมชนจำนวน 8 คน
1.3 สภาพปัจจุบันสภาพปัจจุบัน ประชากรทั้งหมด 453 คน ชาย 215 คน หญิง 238 คน
    ในหมู่บ้าน/ชุมชนมีครัวเรือน 112 ครอบครัว มีบ้าน 107 หลังคาเรือน (ข้อมูลจากข้อมูลชุมชน
แขวงบางมด สำนักงานเขตทุ่งครุ)
1.4 วัฒนธรรม/ประเพณี/ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในอดีต-ปัจจุบัน มีวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นของชุมชนร่วมรัฐ
    สามัคคีแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วนคือ วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นของชาวพุทธและวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น
ของชาวมุสลิม
    - ประเพณีของชาวไทย – พุทธที่สืบทอดกันมาตั้งแต่ในอดีต ก็ได้แก่ประเพณีวันสงกรานต์ การไป
ทำบุญที่วัด การรดน้ำดำหัวผู้อาวุโสของชุมชน ประเพณีวันปีใหม่ และวันสำคัญทางศาสนาที่คงสืบ
สานสืบทอดและปฏิบัติกันมาจนถึงปัจจุบัน
    - วัฒนธรรมประเพณีของชาวมุสลิม ซึ่งทั้งหมดจะเป็นไปตามหลักของศาสนาอิสลามที่ยังคงยึดถือ
เป็นหลักศรัทธาและหลักปฏิบัติของพี่น้องมุสลิมดตลอดมา ซึ่งสามารถแจกแจงความสำคัญของวันสำคัญ
ต่างๆที่ชาวมุสลิมให้ความสำคัญและต้องมีกิจกรรมทางศาสนาในวันดังกล่าว ในรอบ 1 ปีได้ดังนี้คือ
    1) งานวันเมาลิด ความสำคัญของวันนี้คือ เป็นวันที่พี่น้องมุสลิมจะทำการสรรเสริญให้กับวันคล้าย
วันเกิดของท่านนบีมูฮัมหมัด (ศาสดาองค์สุดท้าย) ซึ่งทุกมัสยิดหรือชุมชนมุสลิมทุกชุมชนจะต้องจัด 1 ครั้ง
ต่อปี
    2) งานอิซิกุโบร์ เป็นงานทำบุญให้กับผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว จะมีการอ่านอัลกุรอ่านและการละหมาด
ให้กับที่ตายไปแล้ว
    3) การถือศีลอดในเดือนร็อมฏอล ของทุกปี
ซึ่งประเพณีและวัฒนธรรมที่กล่าวมาข้างต้นนั้นจะมีจ้อจำกัดสำคัญคือตามหลักของศาสนาอิสลามพี่
น้องมุสลิมไม่สามารถร่วมงานประเพณีของพี่น้องไทยพุทธได้โดนเฉพาะงานที่เกี่ยวข้องกับศาสนา แต่พี่
น้องไทยพุทธสามารถมาร่วมงานของชาวมุสลิมได้
1.5 ปัญหาสำคัญภายในชุมชน คือปัญหาเรื่องขยะมูลฝอย
1.6 การทำงานรวมกับหน่วยงานภายนอกชุมชนทั้งภาครัฐและเอกชน
    1) การทำงานร่วมกับสำนักงานเขตทุ่งครุ ในการดำเนินงานต่างๆของชุมชน
    2) การทำงานร่วมกับสาธารณสุข ในเรื่องสุขภาพอนามัยของคนในชุมชน
1.7 แผนที่ชุมชน

1.8 รูปภาพชุมชน

2. ข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์คณะกรรมการชุมชน
ชื่อชุมชน ชุมชนร่วมรัฐสามัคคี
ชื่อผู้ให้สัมภาษณ์ นายวิชา ศรีพร้อม ตำแหน่ง/หน้าที่ ประธานชุมชน
1. ที่ตั้งของชุมชน
2. อาณาเขตติดต่อ
    - ทิศเหนือติดกับ ซอยประชาอุทิศ 54 แยก 5
    - ทิศตะวันออกติดกับ คลองสะพานควาย
    - ทิศใต้ติดกับ ชุมชนคอลิดีน
    - ทิศตะวันตกติดกับ ถนนซอยประชาอุทิศ 54
3. คณะกรรมการชุมชนมีบทบาทในการพัฒนาหรือการปกครองชุมชนอย่างไรบ้าง
4. ภายในชุมชนมีสถานที่สำคัญอะไรบ้างและมีความเป็นมาอย่างไร
5. ชุมชนมีกฏระเบียบหรือข้อบังคับในการอยู่ร่วมกันภายในชุมชนอย่างไรบ้าง
6. ชุมชนมีนโยบายหรือแผนในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง
7. ในชุมชนมีปัญหาอะไรบ้าง

    - ปัญหาด้านสังคม
      มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาลักเล็กขโมยน้อย
      น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหายาเสพติด

    - ปัญหาด้านเศรษฐกิจ
      มาก มีปัญหาอะไรบ้าง
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาขาดตลาดสำหรับขายผลิตภัณฑ์, ปัญหาการรวมกลุ่ม
อาชีพ
      น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหารายได้น้อย ปัญหาว่างงาน ปัญหาหนี้นอกระบบ

    - ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
      มาก มีปัญหาอะไรบ้าง
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการจราจร ปัญหาการสื่อสารและโทรคมนาคม
      น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง

    - ปัญหาด้านสารธารณสุข
      มาก มีปัญหา
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ ขาดแคลนสภานที่ออกกำลังกาย
      น้อย มีปัญหาอุบัติเหตุ ปัญหาการติดบุหร

    - ปัญหาด้านการศึกษา
      มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
      น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการผ็สอนไม่เพียงพอกับนักเรียน

    - ปัญหาด้านศาสนา
      มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -ปํญหาศาสนถานคือ วัดอยู่ห่าง
      น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง -

    - ปัญหาด้านประเพณีและวัฒนธรรม
      ชุมชนร่วมรัฐสามัคคี ไม่มีปัญหาทางด้านประเพณีและวัฒนธรรม
    - ปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง
    - มีปัญหาปานกลางกับปัญหาน้ำเน่าเสีย และขาดการการฟื้นฟูรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ
      สิ่งแวดล้อม

    - ปัญหาด้านการเมืองการบริหาร
      มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -การขาดแคลนวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานที่เพียงพอและมี
ประสิทธิภาพ สถานที่ราชการไม่เพียงพอต่อประชาชนคับแคบและไม่เพียงพอต่อความต้องการ
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
      น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง -

8. จงเรียงลำดับความสำคัญของปัญหาที่ชุมชนต้องแก้ไขเร่งด่วนมากที่สุด เพราะอะไร
    8.1 สถานที่ไม่เพียงพอ
    8.2 คูคลองสิ่งแวดล้อม
    8.3 งบประมาณในการพัฒนาชุชน

9. ในชุมชนมีกลุ่มกิจกรรมอะไรบ้างที่ทางราชการและเอกชนเข้ามาส่งเสริม
    - ด้านสุขภาพ
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง กิจกรรมส่งเสริมออกกำลังกายผู้สูงอายุ , กิจกรรมการเต้นแอโรบิก,
กิจกรรมรณรงค์ต่อต้านการเผยแพร่ระบาดของยาเสพติดในชุมชน, กิจกรรมรณรงค์ควบคุมป้องกันควบคุม
โรคเบาหวาน, กิจกรรมรณรงค์ป้องกัน ควบคุมโรคความดันโลหิต, กิจกรรมรณรงค์ควบคุม ป้องกันโรค
ไข้เลือดออก, กิจกรรมตรวจมะเร็งเต้านม
    - ด้านอาชีพ
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง การฝึกอบรมอาชีพเสริม, การส่งเสริมการท่องเที่ยว, ส่งเสริมรายได้
พิเศษ, กิจกรรมชีวิตพอเพียงตามแนวพระราชดำริ, จัดตั้งกลุ่มแม่บ้าน
    - ด้านการออมทรัพย์
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง กลุ่มฌาปนกิจ
    - ด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม การทำบุญตักบาตร กิจกรรมวันปีใหม่และ
วันสงกรานต์, การส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
    - ด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง การป้องกันยาเสพติด, การรวมกลุ่มกิจกรรมของผู้สูงอายุ, กิจกรรม
เพื่อเยาวชน, กิจกรรมห่วงใยวัย 70 ปี,การสงเคราะห์ผู้โดยโอกาสทางการศึกษา
    - ด้านการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อม
      มี กิจกรรม เฝ้าระวังคุณภาพน้ำ, เก็บขยะในชุมชน, การอบรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม, ปลูก
ต้นไม้ให้สวนงาม, การขุดคูคลอง, รณรงค์ให้ทิ้งขยะในถังขยะจัดที่ใส่ขยะให้เป็นระเบียบ,ปรับปรุงหรือ
ซ่อมแซมสาธารณูปโภค เช่น ท่อระบายน้ำ ไฟฟ้าในซอย
    - ด้านการเมืองการปกครอง
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง รณรงค์ให้ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งทุก ๆ ครั้งที่มีการเลือกตั้ง, อบรมให้
ความรู้เกี่ยวกับการเมือง

10. ชุมชนมีโครงการในการพัฒนาชุมชนอะไรบ้างและแต่ละโครงการมีกิจกรรมอย่างไร
    10.1 ปลูกต้นไม้สุขาภิบาล ผักสวนครัว
    10.2 ธนาคารขยะ
    10.3 Credit Union
    10.4 ศูนย์สุขภาพ
    10.4 ชมรมผู้สูงอายุ
    10.5 รมรมเด็กสตรี

11. คนดีและเก่งที่เป็นกำลังสำคัญในชุมชน
    - ด้านการทำอาหาร
      ขนมไทย อ. จำนรรจ์ คือทอง
      การทำอาหารคาวหวาน -

    - ด้านการช่าง
      ช่างไม้ นายบัวรี นารี
      ช่างซ่อมเครื่องใช้จำพวกอิเลคโทรนิค จำรัส สุขใจ
      ช่างซ่อมรถ การขาดแคลนวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานที่เพียงพอและมีประสิทธิภาพ
      ช่างไฟ การขาดแคลนวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานที่เพียงพอและมีประสิทธิภาพ
      ช่างเขียนป้าย หรือช่างศิลป์ อ.ผ่องศรี ปลอดโปร่ง

    - ด้านการเกษตร

    - ด้านศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม (ทุกศาสนาที่มีอยู่ในชุมชน)
      ผู้นำการในการทำศาสนพิธีของศาสนา วิชา ศรีพร้อม, ชุติมา สำรวมไพรัตน์

    - ด้านการแพทย์แผนไทย
      นางประมวล สุรเสน/ อดิพงศ์ แสนเรือง

    - ด้านการประดิษฐ์
      นางดำ ศรีเตชะ 
      นายวุฒิพงศ์ ชูสกุล
    - ด้านอื่น ๆ

12. ในชุมชนมีจุดอ่อนจุดแข็งอะไรบ้าง
    จุดแข็ง - รวมตัวด้านศาสนา
    จุดอ่อน - การรวมชุมชนทำยากในวันธรรมดา
              - สวนหมดไป คนทำงานนอกบ้าน

13. รายชื่อคณะกรรมการหมู่บ้าน
    1. นายวิชา ศรีพร้อม ตำแหน่ง ประธาน
    2. นายจำนรร ศรีทอง ตำแหน่ง รองประธาน
    3. นางจรัญ แสนเรือง ตำแหน่ง เลขา
    4. จำรัส สุขใจ ตำแหน่ง ประชาสัมพันธ์
    5. บัว เนาะจิตร ตำแหน่ง นายทะเบียน

14. รายชื่อพัฒนาชุมชน (อช.)
15. รายชื่ออาสาสาธารณประจำชุมชน (อส.ม)
16. ในชุมชนมีสิ่งที่ทำให้สมาชิกในชุมชนมีความภาคภูมิใจอะไรบ้างเพราะอะไร
17. ชุมชนมีความต้องการหรือความคาดหวังในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง

3. ข้อมูลแบบสอบถามของชุมชน
3.1. ส่วนที่ 1 ข้อมูลด้านประชากรของสมาชิกใน
ครัวเรือน
3.1.1 ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนของชุมชน
ประกอบด้วย ข้อมูลรวมของสมาชิกในครัวเรือน
ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเพศชาย และ
ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเพศหญิง
ตารางที่ 1 แสดงร้อยละของครัวเรื่องที่มีสมาชิก
1-7 คน

ครัวเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนนี้มีสมาชิกประมาณ
3-5 คนต่อครัวเรือน
3.1.2 ข้อมูลส่วนบุคคลของสมาชิกในครัวเรือน
ทั้งหมด
ตารางที่ 2 ร้อยละของเพศชายและเพศหญิง

ประชากรประกอบด้วยเพศชาย ร้อยละ 45.7 เพศ
หญิงร้อยละ 54.0
ตาราง 3 ร้อยละของอายุประชากรในชุมชน

ชุมชนร่วมรัฐสามัคคี ประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่
ในช่วง 31-40 ปี
ตาราง 4 ระดับการศึกษา

ชุมชนร่วมรัฐสามัคคี ประชากรส่วนใหญ่มี
การศึกษาในระดับประถมศึกษา
ตาราง 5 การนับถือศาสนา

ชุมชนร่วมรัฐสามัคคี ประชากรส่วนใหญ่นับถือ
ศาสนาพุทธ

ตาราง 6 รายได้ของคนในชุมชน

ชุมชนร่วมรัฐสามัคคี ประชากรส่วนใหญ่มีรายได้
อยู่ในช่วง 5001-10000 บาท
ตาราง 7 รายจ่ายของคนในชุมชน

ชุมชนร่วมรัฐสามัคคี ประชากรส่วนใหญ่มี
รายจ่ายอยู่ในช่วง 5001-10000 บาท
ตาราง 8 อาชีพหลัก ของคนในชุมชน

ชุมชนร่วมรัฐสามัคคี ประชากรส่วนใหญ่
ประกอบอาชีพหลักคือ รับจ้าง
ตาราง 9 อาชีพเสริม ของคนในชุมชน

คนในชุมชนร่วมใจส่วนใหญ่ไม่มีอาชีพเสริม
ตาราง 10 โรคประจำตัวของคนในชุมชน

โรคประจำตัว ของคนในชุมชนร่วมรัฐสามัคคี
ได้แก่ ความดันโลหิต

3.1.3 สถานะภาพครอบครัวในชุมชน
(ตารางที่ 11)

คนในชุมชนอยู่ด้วยกันประมาณ ร้อยละ 68.2
3.1.4 ข้อมูลความขัดแย้งหรือการทะเลาะกันใน
ครัวเรือน (ตารางที่ 12)

คนในชุมชนร้อยละ 63.6 ไม่ทะเลาะกัน
3.1.5 จำนวนข้อมูลผู้ว่างงานในครัวเรือน
(ตารางที่ 13)

ในครัวเรือนในชุมชนส่วนใหญ่มีคนว่างงาน
ประมาณ 1 คน

3.1.6 ข้อมูลจำนวนผู้พิการในครัวเรือน
(ตารางที่ 14)

มีอยู่ประมาณ 6 ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็นร้อย
ละ 9.1 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.7 ข้อมูลจำนวนผู้ติดสุราในครัวเรือน
(ตารางที่ 15)

ไม่มีผู้ติดสุรา คิดเป็นร้อยละ 92.4 ของครัวเรือน
ทั้งหมด
3.1.8 ข้อมูลจำนวนผู้ติดบุหรี่ในครัวเรือน
(ตารางที่ 16)

มีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คนคิดเป็นร้อยละ 6.1 ของ
ครัวเรือนทั้งหมด

3.1.9 ข้อมูลการเล่นการพนันในครัวเรือน
ประกอบด้วย การเล่นการพนันของสมาชิกใน
ครัวเรือน และข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่
เล่นการพนัน
ข้อมูลการเล่นพนันของสมาชิกในครัวเรือน
(ตารางที่ 17)

ร้อยละ 92.4 ของครัวเรือนทั้งหมด ไม่เล่นการ
พนัน
ข้อมูลจำนวนสมาชิกที่เล่นการพนันในครัวเรือน
(ตารางที่ 18)

ไม่มีผู้เล่นการพนัน คิดเป็นร้อยละ 92.4 ของ
ครัวเรือนทั้งหมด
3.1.10 ข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของ
สมาชิกในครัวเรือน ประกอบด้วย ข้อมูลการซื้อ
สลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกในครัวเรือน
ข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล และข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล
ข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกใน
ครัวเรือน (ตารางที่ 19)

ร้อยละ 18.2 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล
ข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล (ตารางที่ 20)

ร้อยละ 7.6 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่ง
รัฐบาล ส่วนใหญ่จะซื่อประมาณ 1 คนใน
ครอบครัว
ข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล
(ตารางที่ 21)

ส่วนใหญ่ใช้เงินซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลเดือนละ
100-300 บาท

3.1.11 ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายของ
ครัวเรือน ประกอบด้วย ค่าอาหาร ค่าเช่าบ้านหรือ
ผ่านบ้าน ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ค่าการศึกษา
บุตร ค่าเดินทาง ค่าเครื่องใช้ในครัวเรือน ค่า
เครื่องใช้ส่วนตัว และค่ารักษาพยาบาล
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าอาหารของครัวเรือน (ตารางที่ 22)

ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ
อันดับ 1
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านของครัวเรือน
(ตารางที่ 23)

ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 8
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
น้ำ ค่าไฟ และค่าโทรศัพท์ของครัวเรือน
(ตารางที่ 24)

ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ
อันดับ 1 และ 2
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
การศึกษาของบุตร (ตารางที่ 25)

ค่าเล่าเรียนบุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ
อันดับ 2
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เดินทาง (ตารางที่ 26)

ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้
ความสำคัญอันดับ 3
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
ของใช้ในครัวเรือน (เช่น สบู่ แชมพู ผงซักฟอก
เครื่องใช้ไฟฟ้า ฯลฯ) (ตารางที่ 27)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่ แชมพู ผงซักฟอก
เครื่องใช้ไฟฟ้า มีความสำคัญอันดับ 4ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เครื่องใช้ส่วนตัว (เช่น เสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้า
ฯลฯ)
(ตารางที่ 28)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัวให้
ความสำคัญอันดับ 7
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
รักษาพยาบาล (ตารางที่ 29)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้ความสำคัญ
อันดับ 6

3.1.12 ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน
ประกอบด้วย ข้อมูลการออมเงิน และข้อมูล
จำนวนเงินออม
ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน (ตารางที่ 30)

มีการออมเงินร้อยละ 54.5 ของครัวเรือนทั้งหมด
ข้อมูลจำนวนเงินออมในครัวเรือน (ตารางที่ 34)

ร้อยละ6.0 ของครัวเรือนมีเงินออม 15001-20000
บาทต่อครัวเรือน
3.1.13 ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน
ประกอบด้วย ข้อมูลการมีหนี้สิน และข้อมูล
จำนวนหนี้สินข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน (ตารางที่ 32)

ร้อยละ 45.5 ของครัวเรือนมีหนี้สิน
ข้อมูลจำนวนหนี้สินในครัวเรือน (ตารางที่ 36)

ร้อยละ 10.5 ของครัวเรือนมีหนี้สินมากกว่า
100000 บาทต่อครัวเรือน
3.1.14 ข้อมูลการทำรายรับ – รายจ่าย
(ตารางที่ 34)

ร้อยละ 71.2 ไม่มีครอบครัวใดที่ทำบัญชีรายรับ-
รายจ่าย
3.2. ส่วนที่ 2 ข้อมูลด้านที่อยู่อาศัย
3.2.1 ภูมิลำเนาเดิม
3.2.2 ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในชุมชน (ตารางที่ 35)

อาศัยอยู่ในชุมชนส่วนใหญ่อาศัยอยู่ประมาณ 21-
30 ปี
3.2.3 การครอบครองที่อยู่อาศัย ประกอบด้วย
ข้อมูลการครอบครองที่อยู่อาศัย และข้อมูลด้าน
จำนวนพื้นที่อยู่อาศัย
การครอบครองที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 36)

ส่วนใหญ่เป็นเจ้าของร้อยละ 87.9
จำนวนพื้นที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 37)

ชุมชนส่วนใหญ่มีพื้นที่อาศัยอยู่ประมาณ 26-40
ตรว.
3.2.4 ลักษณะของที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 41)

ส่วนใหญ่อาศัยแบบบ้านเดี่ยวสองชั้นร้อยละ 68.2
3.2.5 บริเวณที่อยู่อาศัยของท่านมีความปลอดภัย
ในชีวิตและทรัพย์สินหรือไม่ (ตารางที่ 39)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 86.4 เห็นว่ามีความปลอดภัยใน
ระดับปานกลาง
3.2.6 ครัวเรือนของท่านถูกรบกวนจากภาวะ
ต่าง ๆ หรือไม่
ถูกรบกวนจากขยะ (ตารางที่ 40)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 19.7 เห็นว่าถูกรบกวนจากขยะ
ในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากน้ำเน่าเสีย (ตารางที่ 44)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 28.8 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำ
เสียในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากน้ำท่วม (ตารางที่ 42)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 18.2 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำ
ท่วมในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากเสียงดัง (ตารางที่ 43)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 31.8 เห็นว่าถูกรบกวนจากเสียง
ดังในระดับน้อยถูกรบกวนจากการจราจรติดขัด (ตารางที่ 44)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 19.7 เห็นว่าถูกรบกวนจาก
จราจรติดขัดในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากฝุ่นควันและก๊าซพิษ (ตารางที่ 45)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 25.8 มีปัญหาในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากด้านอื่น ๆ (ตารางที่ 46)

ส่วนใหญ่ ไม่ตอบว่าถูกรบกวนจากสิ่งอื่นๆ
3.2.7 ในรอบปีที่ผ่านมาครัวเรือนของท่านได้รับ
การช่วยเหลือหรือการสนับสนุน ด้านใดบ้างและ
จากหน่วยงานใด (เช่น) ค่าเล่าเรียนบุตร การ
ส่งเสริมอาชีพ การพ่นหมอกควันกำจัดยุง)
(ตารางที่ 47)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60.6 ได้รับความช่วยเหลือจาก
หน่วยงานต่างๆ
3.3 ส่วนที่ 3 ข้อมูลด้านการเป็นสมาชิกกลุ่มหรือ
การร่วมทำกิจกรรมที่ได้รับการส่งเสริม
3.3.1 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านสุขภาพ
กิจกรรมออกกำลังกายผู้สูงอายุ (ตารางที่ 48)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 78.8 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
สุขภาพ
เยาวชนรักกีฬา (ตารางที่ 49)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.2 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
เยาวชนรักกีฬาเต้นแอโรบิค (ตารางที่ 50)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 48.5 ไม่เข้าร่วมกิจกรรม
เต้นแอโรบิค
งดสูบบุหรี่ (ตารางที่ 51)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 75.8 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
งดสูบบุหรี่
ต่อต้านยาเสพติด (ตารางที่ 52)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 53.0 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
ต่อต้านยาเสพติด
ป้องกันอุบัติเหตุ (ตารางที่ 53)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.2 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
ป้องกันอุบัติเหตุ
ควบคุมเบาหวาน (ตารางที่ 54)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 48.5 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
ควบคุมเบาหวาน
ควบคุมความดันโลหิต (ตารางที่ 55)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 47.0 ระบุเข้าร่วมและไม่เข้าร่วม
กิจกรรมควบคุมความดันโลหิต
ควบคุมไข้เลือดออก (ตารางที่ 56)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 48.5 ระบุว่าไม่เข้าร่วมกิจกรรม
ควบคุมไข้เลือดออก
ตรวจมะเร็งปากมดลูก (ตารางที่ 57)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 59.1 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมตรวจ
มะเร็งปากมดลูก
ตรวจมะเร็งเต้านม (ตารางที่ 58)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 47.0 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
ควบคุมมะเร็งเต้านม
3.3.2 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านอาชีพ
ฝึกอาชีพเสริม (ตารางที่ 59)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.2 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมฝึก
อาชีพเสริม
ส่งเสริมการท่องเที่ยว (ตารางที่ 60)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 75.8 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
ส่งเสริมการท่องเที่ยว
ส่งเสริมรายได้เด็ก (ตารางที่ 61)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.2 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมเสริม
รายเด็ก
กิจกรรมชีวิตพอเพียง (ตารางที่ 62)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 48.5 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมชีวิต
พอเพียง
กลุ่มแม่บ้าน (ตารางที่ 63)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 51.5 ระบุว่าไม่เข้าร่วมกิจกรรม
กลุ่มแม่บ้าน
OTOP (ตารางที่ 64)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 54.5 ระบุว่าไม่เข้าร่วมกิจกรรม
OTOP
3.3.3 ข้อมูลด้านการออมทรัพย์
การทำบัญชีครัวเรือน (ตารางที่ 65)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 63.6 ตอบว่าไม่มีการทำบัญชี
ครัวเรือน
กองทุนหมู่บ้าน (ตารางที่ 66)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 75.8 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
กองทุนหมู่บ้าน
กลุ่มณาปนกิจ (ตารางที่ 67)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 48.5 เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
ฌาปนกิจ
กลุ่มออมทรัพย์ (ตารางที่ 68)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 33.4 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์
กองทุนอาชีพ (ตารางที่ 69)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60.6 ไม่มีกิจกรรมกองทุน
อาชีพร้านค้าชุมชน (ตารางที่ 70)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 77.3 ไม่มีกิจกรรมร้านค้าชุมชน
ออมทรัพย์อื่นๆ (ตารางที่ 71)

ส่วนใหญ่ร้อย80.3 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
ออมทรัพย์อื่นๆในชุมชน
3.3.4 ข้อมูลด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
อนุรักษ์ศิลปะ (ตารางที่ 72)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 68.2 ไม่มีกิจกรรมกลุ่มอนุรักษ์
ศิลปะ
การทำบุญตักบาตร (ตารางที่ 73)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 57.6 เข้าร่วมกิจกรรมทำบุญตัก
บาตร
วันปีใหม่สงกรานต์ (ตารางที่ 74)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 56.1 ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมปี
ใหม่สงกรานต์
การส่งเสริมศิลปะ (ตารางที่ 75)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 37.9 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
ส่งเสริมศิลปะ
ศาสนพิธี (ตารางที่ 76)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 37.9 เข้าร่วมกิจกรรมศาสนพิธีพิธีอื่นๆ (ตารางที่ 77)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.5 ไม่ระบุการเข้าร่วมพิธีอื่น
3.3.5 ข้อมูลด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม
ป้องกันยาเสพติด (ตารางที่ 78)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 50.0 ไม่มีกิจกรรมป้องกัน
ยาเสพติด
กลุ่มผู้สูงอายุ (ตารางที่ 79)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.2 ไม่มีกิจกรรมกลุ่ม
ผู้สูงอายุ
กิจกรรมเยาวชน (ตารางที่ 80)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 75.8 ไม่มีกิจกรรมเยาวชน
ป้องกันขโมย (ตารางที่ 81)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 72.7 ไม่มีกิจกรรมป้องกันขโมย
กิจกรรมห่วงใยวัย70 (ตารางที่ 82)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 75.8 ไม่มีกิจกรรมห่วงใยวัย70
ส่งเสริมสถาบันครอบครัว (ตารางที่ 83)

ส่วนใหญ่ร้อยละ57.6 ไม่มีกิจกรรมส่งเสริม
สถาบันครอบครัว
กิจกรรมสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส(ตารางที่ 84)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 80.3 ไม่มีกิจกรรมสงเคราะห์
ผู้ด้อยโอกาส/ผู้พิการ
กองทุนพัฒนาชุมชน (ตารางที่ 85)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 45.5 ไม่มีกิจกรรมกองทุน
พัฒนาชุมชน
กองทุนผู้สูงอายุ (ตารางที่ 86)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 78.8 ไม่มีกิจกรรมกองทุน
ผู้สูงอายุ
3.3.6 ข้อมูลด้านการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อม
ระวังคุณภาพน้ำ (ตารางที่ 87)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 75.8 ไม่มีกิจกรรมระวังคุณภาพ
น้ำ
ชุมชนน่าอยู่ (ตารางที่ 88)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 39.4 เข้าร่วมกิจกรรมชุมชน
น่าอยู่
เก็บขยะในชุมชน (ตารางที่ 89)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 48.5 เข้าร่วมกิจกรรมเก็บขยะใน
ชุมชน
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (ตารางที่ 90)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 40.9 ไม่มีกิจกรรมอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อมขุดลอกคูคลอง (ตารางที่ 91)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 37.9 เข้าร่วมกิจกรรมขุดลอกคู
คลอง
ปลูกต้นไม้ (ตารางที่ 92)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 37.9 เข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้
ซ่อมแซมสาธารณูปโภค (ตารางที่ 93)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 39.4 ไม่มีกิจกรรมซ่อมแซม
สาธารณูปโภค
ทำความสะอาด (ตารางที่ 94)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 40.9 ไม่มีกิจกรรมทำความ
สะอาด
ทิ้งขยะในถัง (ตารางที่ 95)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 57.6 เข้าร่วมกิจกรรมทิ้งขยะใน
ถัง
อนุรักษ์อื่นๆ (ตารางที่ 96)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.9 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมอนุรักษ์อื่นๆ
3.3.7 ข้อมูลด้านการเมืองการปกครอง
รณรงค์เลือกตั้ง (ตารางที่ 97)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 90.9 เข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์
การเลือกตั้ง
อบรมความรู้การเมือง (ตารางที่ 98)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 47.0 เข้าร่วมกิจกรรมอบรม
ความรู้การเมือง
รณรงค์อื่นๆ (ตารางที่ 99)

ร้อยละ 100.0 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมทางการ
เมืองอื่นๆ

 

สรุปข้อมูลจากการสำรวจโดยแบบสอบถามระหว่างวันที่ …..................
      สำรวจโดยใช้แบบสอบถามจากครัวเรือนทั้งหมด 66 ครัวเรือนคิดเป็น 60 เปอร์เซ็นต์ของครัวเรือน
ทั้งหมดในชุมชน ในชุมชนนี้มีสมาชิกประมาณ 3-5 คนต่อครัวเรือน ประชากรประกอบด้วยเพศชาย ร้อย
ละ 45.7 เพศหญิงร้อยละ 54.0 ชุมชนร่วมรัฐสามัคคี ประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง 31-40 ปี ประชากร
ส่วนใหญ่มีการศึกษาในระดับประถมศึกษา นับถือศาสนาพุทธ ชุมชนร่วมรัฐสามัคคี ประชากรส่วนใหญ่
มีรายได้อยู่ในช่วง 5001-10000 บาท มีรายจ่ายอยู่ในช่วง 5001-10000 บาท ประกอบอาชีพหลักคือ รับจ้าง
คนในชุมชนร่วมใจส่วนใหญ่ไม่มีอาชีพเสริม โรคประจำตัว ของคนในชุมชนร่วมรัฐสามัคคี ได้แก่ ความ
ดันโลหิต คนในชุมชนอยู่ด้วยกันประมาณ ร้อยละ 68.2 ร้อยละ 63.6 ไม่ทะเลาะกันในครัวเรือน
ในชุมชนส่วนใหญ่มีคนว่างงาน ประมาณ 1 คน มีอยู่ประมาณ 6 ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็นร้อยละ 9.1
ของครัวเรือนทั้งหมด ไม่มีผู้ติดสุรา คิดเป็นร้อยละ 92.4 ของครัวเรือนทั้งหมด มีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คน
คิดเป็นร้อยละ 6.1 ของครัวเรือนทั้งหมด ร้อยละ 92.4 ของครัวเรือนทั้งหมด ไม่เล่นการพนัน ไม่มีผู้เล่น
การพนัน คิดเป็นร้อยละ 92.4 ของครัวเรือนทั้งหมด ร้อยละ 18.2 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่ง
รัฐบาล ร้อยละ 7.6 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล ส่วนใหญ่จะซื้อประมาณ 1 คนใน
ครอบครัวส่วนใหญ่ใช้เงินซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลเดือนละ 100-300 บาท ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเป็น
ค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 1 ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 8
ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 1 และ 2 ค่าเล่าเรียนบุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ
อันดับ 2 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้ความสำคัญอันดับ 3 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่ แชมพู
ผงซักฟอก เครื่องใช้ไฟฟ้า มีความสำคัญอันดับ 4 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัวให้ความสำคัญ
อันดับ 7 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้ความสำคัญอันดับ 6 มีการออมเงินร้อยละ 54.5 ของ
ครัวเรือนทั้งหมด ร้อยละ6.0 ของครัวเรือนมีเงินออม 15001-20000 บาทต่อครัวเรือน ร้อยละ 45.5 ของ
ครัวเรือนมีหนี้สิน ร้อยละ 10.5 ของครัวเรือนมีหนี้สินมากกว่า 100000 บาทต่อครัวเรือน ร้อยละ 71.2
ไม่มีครอบครัวใดที่ทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย

      ด้านที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมของครัวเรือน คนในชุมชนส่วนใหญ่อาศัยอยู่ประมาณ 21-30 ปี
ส่วนใหญ่เป็นเจ้าของร้อยละ 87.9 มีพื้นที่อาศัยอยู่ประมาณ 26-40 ตรว. อาศัยแบบบ้านเดี่ยวสองชั้นร้อย
ละ 68.2 ร้อยละ 86.4 เห็นว่ามีความปลอดภัยในระดับปานกลาง ร้อยละ 19.7 เห็นว่าถูกรบกวนจากขยะ
ในระดับน้อย ร้อยละ 28.8 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำเสียในระดับน้อย ส่วนใหญ่ร้อยละ 18.2 เห็นว่าถูก
รบกวนจากน้ำท่วมในระดับปานกลาง ร้อยละ 31.8 เห็นว่าถูกรบกวนจากเสียงดังในระดับน้อย ร้อยละ
19.7 เห็นว่าถูกรบกวนจากจราจรติดขัดในระดับน้อย ร้อยละ 25.8 มีปัญหาในระดับน้อย ส่วนใหญ่ไม่ตอบ
ว่าถูกรบกวนจากสิ่งอื่นๆร้อยละ 60.6 ได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆ ร้อยละ 78.8

      ด้านการเข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 78.8 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมสุขภาพ ร้อยละ 71.2 ระบุว่าไม่มี
กิจกรรมเยาวชนรักกีฬา ร้อยละ 48.5 ไม่เข้าร่วมกิจกรรมเต้นแอโรบิค ร้อยละ 75.8 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมงด
สูบบุหรี่ ร้อยละ 53.0 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมต่อต้านยาเสพติด ร้อยละ 74.2 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
ป้องกันอุบัติเหตุ ร้อยละ 48.5 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมควบคุมเบาหวาน ร้อยละ 47.0 ระบุเข้าร่วมและไม่เข้า
ร่วมกิจกรรมควบคุมความดันโลหิต ร้อยละ 48.5 ระบุว่าไม่เข้าร่วมกิจกรรมควบคุมไข้เลือดออก ร้อยละ
59.1 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมตรวจมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 47.0 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมควบคุมมะเร็งเต้านม
ร้อยละ 74.2 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมฝึกอาชีพเสริมส่วนใหญ่ ร้อยละ 75.8 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมส่งเสริมการ
ท่องเที่ยว ร้อยละ 74.2 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมเสริมรายเด็ก ร้อยละ 48.5 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมชีวิตพอเพียง
ร้อยละ 51.5 ระบุว่าไม่เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มแม่บ้าน ร้อยละ 54.5 ระบุว่าไม่เข้าร่วมกิจกรรมOTOP ร้อย
ละ 63.6 ตอบว่าไม่มีการทำบัญชีครัวเรือน ร้อยละ 75.8 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมกองทุนหมู่บ้าน ร้อยละ
48.5 เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มฌาปนกิจ ร้อยละ 33.4 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์ ร้อยละ
60.6 ไม่มีกิจกรรมกองทุนอาชีพ ร้อยละ 77.3 ไม่มีกิจกรรมร้านค้าชุมชน ร้อย 80.3 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมออมทรัพย์อื่นๆในชุมชน ร้อยละ 68.2 ไม่มีกิจกรรมกลุ่มอนุรักษ์ศิลปะ ร้อยละ 57.6 เข้าร่วม
กิจกรรมทำบุญตักบาตร ร้อยละ 56.1 ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมปีใหม่สงกรานต์ ร้อยละ 37.9 ระบุว่าไม่มี
กิจกรรมส่งเสริมศิลปะ ร้อยละ 37.9 เข้าร่วมกิจกรรม ศาสนพิธี ร้อยละ 98.5 ไม่ระบุการเข้าร่วมพิธีอื่น
ส่วนใหญ่ ร้อยละ 50.0 ไม่มีกิจกรรมป้องกันยาเสพติด ร้อยละ 74.2 ไม่มีกิจกรรมกลุ่มผู้สูงอายุ ร้อยละ
75.8 ไม่มีกิจกรรมเยาวชน ร้อยละ 72.7 ไม่มีกิจกรรมป้องกันขโมย ร้อยละ 75.8 ไม่มีกิจกรรมห่วงใย
วัย70 ร้อยละ57.6 ไม่มีกิจกรรมส่งเสริมสถาบันครอบครัว ร้อยละ 80.3 ไม่มีกิจกรรมสงเคราะห์
ผู้ด้อยโอกาส/ผู้พิการ ร้อยละ 45.5 ไม่มีกิจกรรมกองทุนพัฒนาชุมชน ร้อยละ 78.8 ไม่มีกิจกรรมกองทุน
ผู้สูงอายุ ร้อยละ 75.8ไม่มีกิจกรรมระวังคุณภาพน้ำ ร้อยละ 39.4 เข้าร่วมกิจกรรมชุมชนน่าอยู่ ร้อยละ
48.5 เข้าร่วมกิจกรรมเก็บขยะในชุมชน ร้อยละ 40.9 ไม่มีกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ส่วนใหญ่ร้อยละ
37.9 เข้าร่วมกิจกรรมขุดลอกคูคลอง ร้อยละ 37.9เข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้ร้อยละ 39.4 ไม่มีกิจกรรม
ซ่อมแซมสาธารณูปโภค ร้อยละ 40.9 ไม่มีกิจกรรมทำความสะอาด ร้อยละ 57.6 เข้าร่วมกิจกรรมทิ้งขยะ
ในถัง ร้อยละ 93.9 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมอนุรักษ์อื่นๆ ร้อยละ 90.9 เข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์การ
เลือกตั้ง ร้อยละ 47.0 เข้าร่วมกิจกรรมอบรมความรู้การเมือง ร้อยละ 100.0 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรม
ทางการเมืองอื่นๆ