ชุมชน สามัคคีบำรุง
ชุมชนสามัคคีบำรุง แขวงบางมด เขตทุ่งครุ จังหวัดกรุงเทพมหานคร
1. ข้อมูลพื้นฐานของชุมชน
1.1 ประวัติและความเป็นมาของชุมชน
    ชุมชนสามัคคีบำรุงนั้นเป็นชุมชนที่ก่อตั้งใหม่ แต่ก่อนนั้นในปี พ.ศ.2515 มีการตั้งบ้านเรือนอยู่
แต่เป็นบ้านเรือนที่ไม่มั่นคงแน่นอน เนื่องจากเป็นพื้นที่ทำสวนส้มทั้งหมด ผู้ที่อยู่อาศัยส่วนใหญ่จะเป็นผู้
ที่มาเช่าทำสวนส้ม โดยกลุ่มคนที่อพยพนั้นจะมาจากชานเมืองของกรุงเทพมหานคร และในชุมชนนั้นได้
แบ่งเป็น 3 โซน คือ 1. โซนด้านหลังโรงเรียน 2. โซนด้านหน้าโรงเรียน 3. โซนที่กระจายอยู่ทั่วไป
เริ่มก่อตั้งในปี พ.ศ.2515 หรือประมาณ 36 ปีมาแล้ว
กลุ่มคนแรกที่อพยพมาจากชุมชนในกรุงเทพมหานคร

1.2 โครงสร้างพื้นฐานชุมชนเริ่มเข้าไปพัฒนาเมื่อปี 2535 โดยมีการพัฒนาดังนี้
    -
1.3 สภาพปัจจุบัน ประชาชนทั้งหมด 875 คน ชาย 323 คน หญิง 552 คน
    ในหมู่บ้าน/ชุมชนมีครัวเรือน 167 ครอบครัว มีบ้าน 215 หลังคาเรือน
ข้อมูลจากสำนักงานเขตทุ่งครุ กรุงเทพมหานคร
1.4 วัฒนธรรม/ประเพณี/ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในอดีต-ปัจจุบัน
    1. งานแต่งงาน
    2. การทำบุญ จะมีการช่วยเหลือกัน
สถานที่ประกอบพิธีศาสนา
    1. ศาสนาพุทธ ใช้วัดทุ่งครุ
    2. ศาสนาอิสลาม ใช้มัสยิดมาเรียน
1.5 ปัญหาสำคัญภายในชุมชนมีดังนี้
    1. ปัญหายาเสพติด
    2. ปัญหาชุมชนแออัด
    3. ปัญหายุงชุกชุม
1.6 การทำงานร่วมกับหน่วยงานภายนอกชุมชนทั้งภาครัฐและเอกชน
    1. สถานีตำรวจราษฎร์บูรณะดูแลทุกข์สุขของคนในชุมชน
    2. สาธารณสุข
    3. โรงเรียน
    4. สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร
    5. สมาชิกสภาเขต
1.7 แผนที่ชุมชน

1.8 ภาพสภาพแวดล้อมของชุมชน

2 . ข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์คณะกรรมการชุมชน
ชื่อผู้ให้สัมภาษณ์ เรือเอกนิราศ เหลือรักษ์, นายอดุล หะหนิบ
ตำแหน่ง/หน้าที่ กรรมการชุมชน (ประธานชุมชนเสียชีวิต กำลังรอเลือกตั้งใหม่)
1. ที่ตั้งของชุมชน ซอยประชาอุทิศ 69 ถนนประชาอุทิศ
2. อาณาเขตติดต่อ
    - ทิศเหนือติดกับ คลองสาธารณะ
    - ทิศตะวันออกติดกับ คลองสะพานควาย
    - ทิศใต้ติดกับ ชุมนดารีซีน
    - ทิศตะวันตกติดกับ โรงเรียนสามัคคีบำรุง
3. คณะกรรมการชุมชนมีบทบาทในการพัฒนาหรือการปกครองชุมชนอย่างไรบ้าง
    3.1 บริหารจัดการงบประมาณให้แก่สมาชิกในชุมชน
    3.2 ประสานงานกับหน่วยงานภายนอก
    3.3 ป้องกันยาเสพย์ติด ดูแลเรื่องสาธารณสุข ตำรวจชุมชน
    3.4 ช่วยเหลือคนชราและเด็กที่ยากจน

4. ภายในชุมชนมีสถานที่สำคัญอะไรบ้างและมีความเป็นมาอย่างไร
    4.1 โรงเรียนสามัคคีบำรุง
    4.2 โรงเรียนสอนศาสนาฮีรอยุดดีน
    โรงเรียนทั้งสองแห่งตั้งอยู่บริเวณชุมชนแต่เด็กชุมชนไกล้เคียงก็เข้ามาเรียนที่นี่ด้วยโรงเรียนสามัคคี
บำรุงเป็นโรงเรียนสายสามัญของกระทรวงศึกษาธิการสอนจนถึงระดับมัธยมศึกษา ตั้งอยู่ตรงกันข้ามกับชุมชน
และเนื่องจากคนในชุมชน 70 % นับถือศาสนาอิสลาม จึงต้องมีโรงเรียนสอนศาสนาเพื่อให้ความรู้เรื่องศาสนา
โดยเฉพาะแก่เด็กๆ ในชุมชนซึ่งนอกจากจะต้องเรียนสายสามัญแล้วต้องเรียนภาษาอาหรับและเรื่องศาสนาด้วย

5. ชุมชนมีกฎระเบียบหรือข้อบังคับในการอยู่ร่วมกันภายในชุมชนอย่างไรบ้าง
    พื้นที่ชุมชนเป็นที่วากัฟ (ที่บริจากที่บริหรงานโดยมูลนิธิ) เพื่อให้สมาชิกในชุมชนสามารถอยู่ร่วมกัน
อย่างสันติสุขภายใต้แนวทางตามหลักศาสนาเดียวกัน คือศาสนาอิสลาม ชุมชนจึงต้องมีกฎข้อบังคับในการอยู่
ร่วมกันที่ค่อนข้างเข้มแข็งที่ตั้งโดยมูลนิธิ เช่น ข้อห้าวเกี่ยวกับยาเสพย์ติด การพนัน ไม่รบกวนเพื่อนบ้าน เป็นต้น
นอกจากนี้ชุมชนยังมีกฏที่ตั้งขึ้นระหว่างสมาชิกด้วยกันเองตามสถานการณ์ต่างๆ ด้วย เช่น กฎในการเข้าเวรยาม
เฝ้าระวังชุมชนร่วมกัน เป็นต้น

6. ชุมชนมีนโยบายหรือแผนในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง
    6.1 โครงการบำบัดน้ำเสีย กำจัดขยะ
    6.2 การส่งเสริมรายได้ โดยจัดตั้งร้านค้าชุมชน ส่งเสริมกลุ่มอาชีพ ผู้ตกงานให้มีรายได้

7. ในชุมชนมีปัญหาอะไรบ้าง
    - ปัญหาด้านสังคม
      มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
      น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาความขัดแย้งกันในชุมชน
    - ปัญหาด้านเศรษฐกิจ
      มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาคนว่างงาน ปัญหาการขาดโอกาสในการ ประกอบอาชีใหม่ๆ
ปัญหาขาดตลาดสำหรับขายผลิตภัณฑ์ ปัญหาการรวมกลุ่มอาชีพ ปัญหารายได้น้อย ปัญหาการขาดแหล่งทุน
สำหรับกู้ยืมประกอบอาชีพ
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาหนี้ในระบบ
      น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการขาดโอกาสในการพัฒนาฝีมือ/ผลิตภัณฑ์
    - ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
      มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
      น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการจราจรที่มักเกิดอุบัติเหตุ
    - ปัญหาด้านสาธารณสุข
      มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ เช่น ความดันโลหิต เบาหวาน
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
      น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการติดสุรา บุหรี่
    - ปัญหาด้านการศึกษา
      มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
      น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง -
    - ปัญหาด้านศาสนา
      มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
      น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง -
    - ปัญหาด้านประเพณีและวัฒนธรรม
      มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาขาดการสนับสนุนและส่งเสริมการทำนุบำรุงรักษา ประเพณี
และวัฒนธรรมท้องถิ่น
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
      น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง -
    - ปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
      มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาน้ำเน่าเสีย
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง
      น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาขยะมูลฝอย ปัญหาด้านการขาดการฟื้นฟูดูแลบำรุงรักษา
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    - ปัญหาด้านการเมืองการบริหาร
      มาก มีปัญหาอะไรบ้าง บุคลากรทางการเมือง ขาดความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่
      ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง
      น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง

8. จงเรียงลำดับความสำคัญของปัญหาที่ชุมชนต้องแก้ไขเร่งด่วนมากที่สุด เพราะอะไร
    8.1 ปัญหาเรื่องรายได้น้อย เพราะคนในชุมชนไม่มีโอกาสในการแสวงหาอาชีพใหม่หรืออาชีพเสริมทำ
ให้มีรายได้น้อย และส่งผลต่อโอกาสในเรื่องการศึกษาของบุตรหลาน
    8.2 ปัญหาเรื่องการเมือง คนในชุมชนถูกครอบงำทางความคิดจากพรรคการเมือง ทำให้คนในชุมชน
แบ่งออกเป็นฝ่าย และความคิดเห็นไม่ตรงกัน เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาชุมชน
9. ในชุมชนมีกลุ่มกิจกรรมอะไรบ้างที่ทางราชการและเอกชนเข้ามาส่งเสริม
    - ด้านสุขภาพ
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง กิจกรรมส่งเสริมเยาวชนรักกีฬา และกิจกรรมรณรงค์ต่อต้านการแพร่
ระบาดของยาเสพติดในชุมชน กิจกรรมรณรงค์ควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก
ไม่มี กิจกรรมอะไรบ้าง กิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ กิจกรรมการเต้นแอโรบิค
กิจกรรมรณรงค์วันงดสูบบุหรี่ กิจกรรมรณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุจากการจราจร กิจกรรมรณรงค์ป้องกัน ควบคุม
โรคเบาหวาน กิจกรรมรณรงค์ป้องกัน ควบคุมโรคความดันโลหิต กิจกรรมการตรวจมะเร็งปากมดลูก กิจกรรม
การตรวจมะเร็งเต้านม
    - ด้านอาชีพ
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง ไม่มีกิจกรรมอะไรเลย
      ไม่มี กิจกรรมอะไรบ้าง
    - ด้านการออมทรัพย์
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง กองทุนหมู่บ้าน
      ไม่มี กิจกรรมอะไรบ้าง การทำบัญชีครัวเรือน รายรับ – จ่าย กลุ่มฌาปนกิจ กลุ่มออมทรัพย์
กองทุนประกอบอาชีพ กองทุนร้านค้าในชุมชน
    - ด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ฝึกปฏิบัติ
เกี่ยวกับศาสนพิธีและวัน สำคัญทางศาสนา
      ไม่มี กิจกรรมอะไรบ้าง การทำบุญตักบาตร กิจกรรมวันปีใหม่และวันสงกรานต์
    - ด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง การป้องกันยาเสพติด กิจกรรมเพื่อเยาวชน ส่งเสริมสถาบันทาง
ครอบครัว กองทุนพัฒนาชุมชน
      ไม่มี กิจกรรมอะไรบ้าง กลุ่มผู้สูงอายุ การป้องกันการขโมย กิจกรรมห่วงใยวัย 70 ปี
การสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส ด้านการศึกษา อาชีพ การเลี้ยงดูผู้พิการ กองทุนผู้สูงอายุ
    - ด้านการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อม
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง การเฝ้าระวังคุณภาพน้ำ การเก็บขยะในชุมชนการอบรมการอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อม การขุดลอกคูคลอง ปรับปรุงหรือซ่อมแซมสาธารณูปโภค เช่น ท่อระบายน้ำ ไฟฟ้าในซอย จัดคน
ในชุมชนเป็นผู้ทำความสะอาด เพื่อให้มีรายได้ รนณรงค์ให้ทิ้งขยะในถังขยะ จัดที่ใส่ขยะให้เป็นระเบียบ
ไม่มี กิจกรรมอะไรบ้าง การประกวดชุมชนน่าอยู่ ปลูกต้นไม้ให้สวยงาม
    - ด้านการเมืองการปกครอง
      มี กิจกรรมอะไรบ้าง รณรงค์ให้ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งทุก ๆ ที่มีการเลือกตั้ง
      ไม่มี กิจกรรมอะไรบ้าง อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเมือง
10. ชุมชนมีโครงการในการพัฒนาชุมชนอะไรบ้างและแต่ละโครงการมีกิจกรรมอย่างไร
11. คนดีและเก่งที่เป็นกำลังสำคัญในชุมชน
    - ด้านการทำอาหาร คุณประเทือง ดอรามาล
    - ด้านการช่าง คุณวา
    - ด้านการเกษตร คุณเป้ พานสะอาด, วิทยา แสงประสพ
    - ด้านศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม คุณดารุจ หมันโน๊ด
    - ด้านการแพทย์แผนไทย
    - ด้านการประดิษฐ์
    - ด้านอื่น ๆ
12. ในชุมชนมีจุดอ่อนจุดแข็งอะไรบ้าง
    จุดแข็ง คนในชุมชนมีคุณธรรมที่ยึดตามหลักศาสนา เกรงกลัวต่อบาป สมาชิกในชุมชนส่วนใหญ่
สามารถว่ากล่าวตักเตือนกันได้ มีความสามัคคี ผู้นำเข้มแข็ง
    จุดอ่อน รัฐไม่ให้ความร่วมมือ ไม่สนับสนุนเรื่องบประมาณเท่าที่ควร
13. รายชื่อคณะกรรมการหมู่บ้าน เรือเอกนิราศ เหลือรักษ์, นายอดุล หะหนิบ, นายสิงห์ คณะรูป
14. รายชื่อพัฒนาชุมชน (อช.) -
15. รายชื่ออาสาสาธารณประจำชุมชน (อส.ม) -
16. ในชุมชนมีสิ่งที่ทำให้สมาชิกในชุมชนมีความภาคภูมิใจอะไรบ้างเพราะอะไร
    16.1 มีผู้นำ คณะกรรมการชุมชนที่เก่งหลายด้าน
    16.2 ภูมิในที่สามารถแก้ปัญหา จัดการชุมชนด้วยตัวเอง
17. ชุมชนมีความต้องการหรือความคาดหวังในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง
    17.1 สามารถพึ่งพาตนเองได้
    17.2 สามารถบูรณาการทรัพยากรที่มีในชุมชนให้เกิดประโยชน์ เพื่อเป็นหลักประกันความมั่นคงแก่
ชุมชน
    17.3 คนในชุมชนมีงานทำทุกคน

 

3. ข้อมูลแบบสอบถามของชุมชน
3.1. ส่วนที่ 1 ข้อมูลด้านประชากรของสมาชิกใน
ครัวเรือน
3.1.1 ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนของชุมชน
ประกอบด้วย ข้อมูลรวมของสมาชิกในครัวเรือน
ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเพศชาย และ
ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเพศหญิง
ตารางที่ 1 แสดงร้อยละของครัวเรื่องที่มีสมาชิก
1-7 คน

ครัวเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนนี้มีสมาชิกประมาณ
3-5 คนต่อครัวเรือน
3.1.2 ข้อมูลส่วนบุคคลของสมาชิกในครัวเรือน
ทั้งหมด
ตารางที่ 2 ร้อยละของเพศชายและเพศหญิง

ประชากรประกอบด้วยเพศชาย ร้อยละ 40.5 เพศ
หญิงร้อยละ 53.0
ตาราง 3 ร้อยละของอายุประชากรในชุมชน

ชุมชนสามัคคี ประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง
0-10 ปี
ตาราง 4 ระดับการศึกษา

ชุมชนสามัคคี ประชากรส่วนใหญ่มีการศึกษาใน
ระดับประถมศึกษา
ตาราง 5 การนับถือศาสนา

ชุมชนสามัคคี ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนา
อิสลาม
ตาราง 6 รายได้ของคนในชุมชน

ชุมชนสามัคคี ประชากรส่วนใหญ่มีรายได้อยู่
ในช่วง 5001-10000 บาท
ตาราง 7 รายจ่ายของคนในชุมชน

ชุมชนสามัคคี ประชากรส่วนใหญ่มีรายจ่ายอยู่
ในช่วง 1-5000 บาท
ตาราง 8 อาชีพหลัก ของคนในชุมชน

ชุมชนสามัคคี ประชากรส่วนใหญ่ประกอบ
อาชีพหลักคือ รับจ้าง
ตาราง 9 อาชีพเสริม ของคนในชุมชน

คนในชุมชนสามัคคีส่วนใหญ่ไม่มีอาชีพเสริม
ตาราง 10 โรคประจำตัวของคนในชุมชน

โรคประจำตัว ของคนในชุมชนสามัคคี ได้แก่
ความดันโลหิต หอบหืด
ตารางที่ 11 สถานะภาพครอบครัวในชุมชน

คนในชุมชนอยู่ด้วยกันประมาณ ร้อยละ 73.7
3.1.4 ข้อมูลความขัดแย้งหรือการทะเลาะกันใน
ครัวเรือน (ตารางที่ 12)

คนในชุมชนร้อยละ 34.2 ไม่ทะเลาะกัน
3.1.5 จำนวนข้อมูลผู้ว่างงานในครัวเรือน
(ตารางที่ 13)

ในครัวเรือนในชุมชนส่วนใหญ่มีคนว่างงาน
ประมาณ 2 คน
3.1.6 ข้อมูลจำนวนผู้พิการในครัวเรือน
(ตารางที่ 14)

มีอยู่ประมาณ 93 ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็นร้อย
ละ 7.9 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.7 ข้อมูลจำนวนผู้ติดสุราในครัวเรือน
(ตารางที่ 15)

ไม่มีผู้ติดสุรา คิดเป็นร้อยละ 94.7 ของครัวเรือน
ทั้งหมด
3.1.8 ข้อมูลจำนวนผู้ติดบุหรี่ในครัวเรือน
(ตารางที่ 16)

มีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คนคิดเป็นร้อยละ 23.7
ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.9 ข้อมูลการเล่นการพนันในครัวเรือน
ประกอบด้วย การเล่นการพนันของสมาชิกใน
ครัวเรือน และข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่
เล่นการพนัน
ข้อมูลการเล่นพนันของสมาชิกในครัวเรือน
(ตารางที่ 17)

ร้อยละ 23.7 ของครัวเรือนทั้งหมด เล่นการพนัน
ข้อมูลจำนวนสมาชิกที่เล่นการพนันในครัวเรือน
(ตารางที่ 18)

มีผู้เล่นการพนัน 1คน 7 ครอบครัว คิดเป็นร้อย
ละ 18.4 ของครัวเรือนทั้งหมด
ข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิก
ในครัวเรือน ประกอบด้วย ข้อมูลการซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาลของสมาชิกในครัวเรือน ข้อมูลจำนวน
สมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล และ
ข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล
ข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกใน
ครัวเรือน (ตารางที่ 19)

ร้อยละ 63.2 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล
ข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล (ตารางที่ 20)

ร้อยละ 28.9 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล ส่วนใหญ่จะซื่อประมาณ 1 คนใน
ครอบครัว
ข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล
(ตารางที่ 21)

ส่วนใหญ่ใช้เงินซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลเดือนละ
100-200 บาท
3.1.11 ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายของ
ครัวเรือน ประกอบด้วย ค่าอาหาร ค่าเช่าบ้านหรือ
ผ่านบ้าน ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ค่าการศึกษา
บุตร ค่าเดินทาง ค่าเครื่องใช้ในครัวเรือน ค่า
เครื่องใช้ส่วนตัว และค่ารักษาพยาบาล
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าอาหารของครัวเรือน (ตารางที่ 22)

ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ
อันดับ 1
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านของครัวเรือน
(ตารางที่ 23)

ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 7 และ 8
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
น้ำ ค่าไฟ และค่าโทรศัพท์ของครัวเรือน
(ตารางที่ 24)

ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ
อันดับ 2
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
การศึกษาของบุตร (ตารางที่ 25)

ค่าเล่าเรียนบุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ
อันดับ 3
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เดินทาง (ตารางที่ 26)

ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้
ความสำคัญอันดับ 4และ 6
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
ของใช้ในครัวเรือน (เช่น สบู่ แชมพู ผงซักฟอก
เครื่องใช้ไฟฟ้า ฯลฯ) (ตารางที่ 27)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่ แชมพู ผงซักฟอก
เครื่องใช้ไฟฟ้า มีความสำคัญอันดับ 3 และ 4
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เครื่องใช้ส่วนตัว (เช่น เสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้า
ฯลฯ)
(ตารางที่ 28)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัวให้
ความสำคัญอันดับ 6
ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
รักษาพยาบาล (ตารางที่ 29)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้ความสำคัญ
อันดับ 6
3.1.12 ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน
ประกอบด้วย ข้อมูลการออมเงิน และข้อมูล
จำนวนเงินออม
ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน (ตารางที่ 30)

มีการออมเงินร้อยละ 42.1 ของครัวเรือนทั้งหมด
ข้อมูลจำนวนเงินออมในครัวเรือน (ตารางที่ 34)

ร้อยละ7.8 ของครัวเรือนมีเงินออม 1- 50000 บาท
ต่อครัวเรือน
3.1.13 ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน
ประกอบด้วย ข้อมูลการมีหนี้สิน และข้อมูล
จำนวนหนี้สิน
ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน (ตารางที่ 32)

ร้อยละ 50.0 ของครัวเรือนมีหนี้สิน
ข้อมูลจำนวนหนี้สินในครัวเรือน (ตารางที่ 36)

ร้อยละ 20.9 ของครัวเรือนมีหนี้สินมากกว่า
15001 บาทต่อครัวเรือน
3.1.14 ข้อมูลการทำรายรับ – รายจ่าย
(ตารางที่ 34)

ร้อยละ 73.7 ไม่มีครอบครัวใดที่ทำบัญชีรายรับ-
รายจ่าย
3.2. ส่วนที่ 2 ข้อมูลด้านที่อยู่อาศัย
3.2.1 ภูมิลำเนาเดิม
3.2.2 ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในชุมชน (ตารางที่ 35)

อาศัยอยู่ในชุมชนส่วนใหญ่อาศัยอยู่ประมาณ 11-
20 ปี
3.2.3 การครอบครองที่อยู่อาศัย ประกอบด้วย
ข้อมูลการครอบครองที่อยู่อาศัย และข้อมูลด้าน
จำนวนพื้นที่อยู่อาศัย
การครอบครองที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 36)

ส่วนใหญ่เป็นผู้เช่าร้อยละ 57.9
จำนวนพื้นที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 37)

ชุมชนส่วนใหญ่มีพื้นที่อาศัยอยู่ประมาณ 0-25
ตรว.
3.2.4 ลักษณะของที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 41)

ส่วนใหญ่อาศัยแบบบ้านเดี่ยวสองชั้นร้อยละ 52.6
3.2.5 บริเวณที่อยู่อาศัยของท่านมีความปลอดภัย
ในชีวิตและทรัพย์สินหรือไม่ (ตารางที่ 39)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 63.2 เห็นว่ามีความปลอดภัยใน
ระดับปานกลาง3.2. ครัวเรือนของท่านถูกรบกวนจากภาวะต่าง ๆ
หรือไม่
ถูกรบกวนจากขยะ (ตารางที่ 40)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 47.4 เห็นว่าถูกรบกวนจากขยะ
ในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากน้ำเน่าเสีย (ตารางที่ 44)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 28.9 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำ
เสียในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากน้ำท่วม (ตารางที่ 42)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.6 เห็นว่าไม่ถูกรบกวนจากน้ำ
ท่วม
ถูกรบกวนจากเสียงดัง (ตารางที่ 43)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 28.9 เห็นว่าถูกรบกวนจากเสียง
ดังในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากการจราจรติดขัด (ตารางที่ 44)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 44.7 เห็นว่าถูกรบกวนจาก
จราจรติดขัดในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากฝุ่นควันและก๊าซพิษ (ตารางที่ 45)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 42.1 มีปัญหาในระดับปาน
กลางถูกรบกวนจากด้านอื่น ๆ (ตารางที่ 46)

ส่วนใหญ่ ไม่ตอบว่าถูกรบกวนจากสิ่งอื่นๆ
3.2. 7 ในรอบปีที่ผ่านมาครัวเรือนของท่านได้รับ
การช่วยเหลือหรือการสนับสนุน ด้านใดบ้างและ
จากหน่วยงานใด (เช่น) ค่าเล่าเรียนบุตร การ
ส่งเสริมอาชีพ การพ่นหมอกควันกำจัดยุง)
(ตารางที่ 47)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 65.8 ได้รับความช่วยเหลือจาก
หน่วยงานต่างๆ
3.3 ส่วนที่ 3 ข้อมูลด้านการเป็นสมาชิกกลุ่มหรือ
การร่วมทำกิจกรรมที่ได้รับการส่งเสริม
3.3.1 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านสุขภาพ
กิจกรรมออกกำลังกายผู้สูงอายุ (ตารางที่ 48)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60.5 ไม่มีกิจกรรมสุขภาพ
เยาวชนรักกีฬา (ตารางที่ 49)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.6 ไม่มีกิจกรรมเยาวชนรัก
กีฬา
เต้นแอโรบิค (ตารางที่ 50)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 57.9 ไม่มีกิจกรรมเต้นแอโรบิค
งดสูบบุหรี่ (ตารางที่ 51)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 47.4 ไม่มีกิจกรรมงดสูบบุหรี่
ต่อต้านยาเสพติด (ตารางที่ 52)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 50.0 ระบุการ ไม่มีกิจกรรม
ต่อต้านยาเสพติด
ป้องกันอุบัติเหตุ (ตารางที่ 53)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 50.0 ระบุการไม่มีกิจกรรม
ป้องกันอุบัติเหตุ
ควบคุมเบาหวาน (ตารางที่ 54)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.6 ระบุการ ไม่มีกิจกรรม
ควบคุมเบาหวาน
ควบคุมความดันโลหิต (ตารางที่ 55)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.6 ระบุไม่มีกิจกรรมควบคุม
ความดันโลหิต
ควบคุมไข้เลือดออก (ตารางที่ 56)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 36.8 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมควบคุมไข้เลือดออก
ตรวจมะเร็งปากมดลูก (ตารางที่ 57)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 55.3 ระบุการ ไม่มีกิจกรรม
ตรวจมะเร็งปากมดลูก
ตรวจมะเร็งเต้านม (ตารางที่ 58)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 57.9 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
ควบคุมมะเร็งเต้านม
3.3.2 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านอาชีพ
ฝึกอาชีพเสริม (ตารางที่ 59)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 55.3 ระบุไม่มีกิจกรรมฝึกอาชีพ
เสริม
ส่งเสริมการท่องเที่ยว (ตารางที่ 60)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 55.3 ระบุไม่มีกิจกรรมส่งเสริม
การท่องเที่ยว
ส่งเสริมรายได้เด็ก (ตารางที่ 61)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 57.9 ไม่มีกิจกรรมเสริมรายเด็ก
กิจกรรมชีวิตพอเพียง (ตารางที่ 62)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.6 ไม่มีกิจกรรมชีวิตพอเพียง
กลุ่มแม่บ้าน (ตารางที่ 63)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 60.5 ไม่มีกิจกรรมกลุ่มแม่บ้าน
OTOP (ตารางที่ 64)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 57.9 ไม่มีกิจกรรมOTOP
3.3.3 ข้อมูลด้านการออมทรัพย์
การทำบัญชีครัวเรือน (ตารางที่ 65)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 50.0 ตอบว่าไม่มีการทำบัญชี
ครัวเรือน
กองทุนหมู่บ้าน (ตารางที่ 66)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 42.1 ไม่มีกิจกรรมกองทุน
หมู่บ้าน
กลุ่มณาปนกิจ (ตารางที่ 67)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 50.0 ไม่มีกิจกรรมกลุ่มฌาปนกิจ
กลุ่มออมทรัพย์ (ตารางที่ 68)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 57.9 ไม่มีกิจกรรมกองทุน
อาชีพ
ร้านค้าชุมชน (ตารางที่ 70)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 57.9 ไม่มีกิจกรรมร้านค้าชุมชน
ออมทรัพย์อื่นๆ (ตารางที่ 71)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 86.8 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมออมทรัพย์อื่นๆในชุมชน
3.3.4 ข้อมูลด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
อนุรักษ์ศิลปะ (ตารางที่ 72)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.6 ไม่มีกิจกรรมกลุ่มอนุรักษ์
ศิลปะ
การทำบุญตักบาตร (ตารางที่ 73)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 55.3 เข้าร่วมกิจกรรมทำบุญตัก
บาตรวันปีใหม่สงกรานต์ (ตารางที่ 74)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.6 ไม่มีกิจกรรมปีใหม่
สงกรานต์
การส่งเสริมศิลปะ (ตารางที่ 75)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 55.3 ระบุว่าไม่มีกิจกรรม
ส่งเสริมศิลปะ
ศาสนพิธี (ตารางที่ 76)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 47.7 ไม่มีกิจกรรมศาสนพิธี
พิธีอื่นๆ (ตารางที่ 77)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 89.5 ไม่ระบุการเข้าร่วมพิธีอื่น
3.3.5 ข้อมูลด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม
ป้องกันยาเสพติด (ตารางที่ 78)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 42.1 ไม่มีกิจกรรมป้องกัน
ยาเสพติด
กลุ่มผู้สูงอายุ (ตารางที่ 79)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 50.0 ไม่มีกิจกรรมกลุ่มผู้สูงอายุ
กิจกรรมเยาวชน (ตารางที่ 80)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 44.7 ไม่มีกิจกรรมเยาวชน
ป้องกันขโมย (ตารางที่ 81)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 50.0 ไม่มีกิจกรรมป้องกันขโมย
กิจกรรมห่วงใยวัย70 (ตารางที่ 82)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 57.9 ไม่มีกิจกรรมห่วงใยวัย70
ส่งเสริมสถาบันครอบครัว (ตารางที่ 83)

ส่วนใหญ่ร้อยละ50.0 ไม่มีกิจกรรมส่งเสริม
สถาบันครอบครัว
กิจกรรมสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส(ตารางที่ 84)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 55.3 ไม่มีกิจกรรมสงเคราะห์
ผู้ด้อยโอกาส/ผู้พิการ

กองทุนพัฒนาชุมชน (ตารางที่ 85)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.6 ไม่มีกิจกรรมกองทุน
พัฒนาชุมชน
กองทุนผู้สูงอายุ (ตารางที่ 86)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 50.0 ไม่มีกิจกรรมกองทุน
ผู้สูงอายุ
3.3.6 ข้อมูลด้านการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อม
ระวังคุณภาพน้ำ (ตารางที่ 87)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 47.4 ไม่มีกิจกรรมระวังคุณภาพ
น้ำ
ชุมชนน่าอยู่ (ตารางที่ 88)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 50.0 ไม่มีกิจกรรมชุมชนน่าอยู่
เก็บขยะในชุมชน (ตารางที่ 89)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 42.1 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมเก็บขยะในชุมชน
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (ตารางที่ 90)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 50.0 ไม่มีกิจกรรมอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อม
ขุดลอกคูคลอง (ตารางที่ 91)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 50.0 ไม่มีกิจกรรมขุดลอกคู
คลอง
ปลูกต้นไม้ (ตารางที่ 92)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 47.4 ไม่มีกิจกรรมปลูกต้นไม้
ซ่อมแซมสาธารณูปโภค (ตารางที่ 93)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 44.7 ไม่มีกิจกรรมซ่อมแซม
สาธารณูปโภค
ทำความสะอาด (ตารางที่ 94)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 47.4 ไม่มีกิจกรรมทำความ
สะอาดทิ้งขยะในถัง (ตารางที่ 95)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 39.5 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมทิ้งขยะในถัง
อนุรักษ์อื่นๆ (ตารางที่ 96)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 92.1 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมอนุรักษ์อื่นๆ
3.3.7 ข้อมูลด้านการเมืองการปกครอง
รณรงค์เลือกตั้ง (ตารางที่ 97)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 39.4 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมรณรงค์การเลือกตั้ง
อบรมความรู้การเมือง (ตารางที่ 98)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 47.4 ไม่มีกิจกรรมอบรมความรู้
การเมืองรณรงค์อื่นๆ (ตารางที่ 99)

ส่วนใหญ่ร้อยละ 86.8 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมทางการเมืองอื่นๆ

 

สรุปข้อมูลจากการสำรวจโดยแบบสอบถามระหว่างวันที่ …..................
      สำรวจโดยใช้แบบสอบถามจากครัวเรือนทั้งหมด 38 ครัวเรือนคิดเป็น 60 เปอร์เซนต์ของครัวเรือน
ทั้งหมดในชุมชน ครัวเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนนี้มีสมาชิกประมาณ 3-5 คนต่อครัวเรือน ประชากร
ประกอบด้วยเพศชาย ร้อยละ 40.5 เพศหญิงร้อยละ 53.0 ชุมชนสามัคคีประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่
ในช่วง 0-10 ปี ชุมชนสามัคคีประชากรส่วนใหญ่มีการศึกษาในระดับประถมศึกษา ชุมชนสามัคคี
ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ชุมชนสามัคคีประชากรส่วนใหญ่มีรายได้อยู่ในช่วง 5001-10000
บาท ชุมชนสามัคคีประชากรส่วนใหญ่มีรายจ่ายอยู่ในช่วง 1-5000 บาท ชุมชนสามัคคีประชากรส่วน
ใหญ่ประกอบอาชีพหลักคือ รับจ้าง คนในชุมชนสามัคคีส่วนใหญ่ไม่มีอาชีพเสริม โรคประจำตัวของคน
ในชุมชนสามัคคี ได้แก่ ความดันโลหิต หอบหืด คนในชุมชนอยู่ด้วยกันประมาณ ร้อยละ 73.7 คนใน
ชุมชนร้อยละ 34.2 ไม่ทะเลาะกันในครัวเรือน ในชุมชนส่วนใหญ่มีคนว่างงาน ประมาณ 2 คน มีอยู่
ประมาณ 3 ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็นร้อยละ 7.9 ของครัวเรือนทั้งหมด ไม่มีผู้ติดสุราคิดเป็นร้อยละ 94.7
ของครัวเรือนทั้งหมด มีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คนคิดเป็นร้อยละ 23.7 ของครัวเรือนทั้งหมด ร้อยละ 23.7
ของครัวเรือนทั้งหมด เล่นการพนัน มีผู้เล่นการพนัน 1คน 7 ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 18.4 ของ
ครัวเรือนทั้งหมด ร้อยละ 63.2 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล ร้อยละ 28.9 ของ
ครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล ส่วนใหญ่จะซื้อประมาณ 1 คนในครอบครัว ส่วนใหญ่ใช้เงิน
ซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลเดือนละ 100-200 บาท ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 1
ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 7 และ 8 ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่
มีความสำคัญอันดับ 2 ค่าเล่าเรียนบุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 3 ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
เป็นค่าใช้จ่ายที่ให้ความสำคัญอันดับ 4และ 6 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่ แชมพู ผงซักฟอก เครื่องใช้ไฟฟ้า มี
ความสำคัญอันดับ 3 และ 4 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัวให้ความสำคัญอันดับ 6 ค่าใช้จ่าย
เกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้ความสำคัญอันดับ 6 มีการออมเงินร้อยละ 42.1 ของครัวเรือนทั้งหมด
ร้อยละ7.8 ของครัวเรือนมีเงินออม 1- 50000 บาทต่อครัวเรือน ร้อยละ 50.0 ของครัวเรือนมีหนี้สิน
ร้อยละ 20.9 ของครัวเรือนมีหนี้สินมากกว่า 15001 บาทต่อครัวเรือน ร้อยละ 73.7 ไม่มีครอบครัวใดที่ทำ
บัญชีรายรับ-รายจ่าย

      ด้านที่อยู่และสภาพแวดล้อมของครัวเรือน ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ประมาณ 11-20 ปี ส่วนใหญ่เป็นผู้
เช่าร้อยละ 57.9 ชุมชนส่วนใหญ่มีพื้นที่อาศัยอยู่ประมาณ 0-25 ตรว. อาศัยแบบบ้านเดี่ยวสองชั้นร้อยละ
52.6 ร้อยละ 63.2 เห็นว่ามีความปลอดภัยในระดับปานกลาง ร้อยละ 47.4 เห็นว่าถูกรบกวนจากขยะใน
ระดับปานกลาง ร้อยละ 28.9 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำเสียในระดับน้อย ร้อยละ 52.6 เห็นว่าไม่ถูก
รบกวนจากน้ำท่วม ร้อยละ 28.9 เห็นว่าถูกรบกวนจากเสียงดังในระดับปานกลาง ร้อยละ 44.7 เห็นว่า
ถูกรบกวนจากจราจรติดขัดในระดับปานกลาง ร้อยละ 42.1 เห็นว่าถูกรบกวนจากฝุ่นควันและกาซพิษใน
ระดับปานกลาง ส่วนใหญ่ไม่ตอบว่าถูกรบกวนจากสิ่งอื่นๆ ร้อยละ 65.8 ได้รับความช่วยเหลือจาก
หน่วยงานต่างๆ

      การเข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 60.5 ไม่มีกิจกรรมสุขภาพ ร้อยละ 52.6 ไม่มีกิจกรรมเยาวชนรัก
กีฬา ร้อยละ 57.9 ไม่มีกิจกรรมเต้นแอโรบิค ร้อยละ 47.4 ไม่มีกิจกรรมงดสูบบุหรี่ ร้อยละ 50.0
ระบุไม่มีกิจกรรมต่อต้านยาเสพติด ร้อยละ 50.0 ระบุไม่มีกิจกรรมป้องกันอุบัติเหตุ ร้อยละ 52.6 ระบุ
ไม่มีกิจกรรมควบคุมเบาหวาน ร้อยละ 52.6 ระบุไม่มีกิจกรรมควบคุมความดันโลหิต ร้อยละ 36.8
ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมควบคุมไข้เลือดออก ร้อยละ 55.3 ระบุไม่มีกิจกรรมตรวจมะเร็งปากมดลูก
ร้อยละ 57.9 ระบุว่าไม่มีกิจกรรมควบคุมมะเร็งเต้านม ร้อยละ 55.3 ระบุไม่มีกิจกรรมฝึกอาชีพเสริม
ร้อยละ 55.3 ระบุไม่มีกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว ร้อยละ 57.9 ไม่มีกิจกรรมเสริมรายได้เด็ก
ร้อยละ 52.6 ไม่มีกิจกรรมชีวิตพอเพียง ร้อยละ 60.5 ไม่มีกิจกรรมกลุ่มแม่บ้าน ร้อยละ 57.9 ไม่มี
กิจกรรมOTOP ร้อยละ 50.0 ตอบว่าไม่มีการทำบัญชีครัวเรือน ร้อยละ 42.1 ไม่มีกิจกรรมกองทุน
หมู่บ้าน ร้อยละ 50.0 ไม่มีกิจกรรมกลุ่มฌาปนกิจ ร้อยละ 57.9 ไม่มีกิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์
ร้อยละ 57.9 ไม่มีกิจกรรมกองทุนอาชีพ ร้อยละ 57.9 ไม่มีกิจกรรมร้านค้าชุมชน ร้อยละ 86.8 ไม่ระบุ
การเข้าร่วมกิจกรรมออมทรัพย์อื่นๆ ในชุมชนร้อยละ 52.6 ไม่มีกิจกรรมกลุ่มอนุรักษ์ศิลปะ ร้อยละ
55.3 เข้าร่วมกิจกรรมทำบุญตักบาตร ร้อยละ 52.6 ไม่มีกิจกรรมปีใหม่สงกรานต์ ร้อยละ 55.3 ระบุ
ว่าไม่มีกิจกรรมส่งเสริมศิลปะ ร้อยละ 47.7 ไม่มีกิจกรรมศาสนพิธี ร้อยละ 89.5 ไม่ระบุการเข้าร่วมพิธี
อื่น ร้อยละ 42.1 ไม่มีกิจกรรมป้องกันยาเสพติด ร้อยละ 50.0 ไม่มีกิจกรรมกลุ่มผู้สูงอายุ ร้อยละ 44.7
ไม่มีกิจกรรมเยาวชน ร้อยละ 50.0 ไม่มีกิจกรรมป้องกันขโมย ร้อยละ 57.9 ไม่มีกิจกรรมห่วงใยวัย70
ร้อยละ50.0 ไม่มีกิจกรรมส่งเสริมสถาบันครอบครัว ร้อยละ 55.3 ไม่มีกิจกรรมสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส/
ผู้พิการ ร้อยละ 52.6 ไม่มีกิจกรรมกองทุนพัฒนาชุมชน ร้อยละ 50.0 ไม่มีกิจกรรมกองทุนผู้สูงอายุ
ร้อยละ 47.4 ไม่มีกิจกรรมระวังคุณภาพน้ำ ร้อยละ 50.0 ไม่มีกิจกรรมชุมชนน่าอยู่ ร้อยละ 42.1 ไม่
ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมเก็บขยะในชุมชน ร้อยละ 50.0 ไม่มีกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ร้อยละ 50.0
ไม่มีกิจกรรมขุดลอกคูคลอง ร้อยละ 47.4 ไม่มีกิจกรรมปลูกต้นไม้ ร้อยละ 44.7 ไม่มีกิจกรรม
ซ่อมแซมสาธารณูปโภค ร้อยละ 47.4 ไม่มีกิจกรรมทำความสะอาด ร้อยละ 39.5 ไม่ระบุการเข้าร่วม
กิจกรรมทิ้งขยะในถัง ร้อยละ 92.1 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมอนุรักษ์อื่นๆ ร้อยละ 39.4 ไม่ระบุการ
เข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์การเลือกตั้ง ร้อยละ 47.4 ไม่มีกิจกรรมอบรมความรู้การเมือง ส่วนใหญ่ร้อยละ
86.8 ไม่ระบุการเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมืองอื่นๆ