ชุมชนหลังสวนธนบุรีรมย์
ชุมชน หลังสวนธนบุรีรมย์ แขวง บางมด เขตทุ่งครุ จังหวัด กรุงเทพมหานครฯ
1. ข้อมูลพื้นฐานของชุมชน
1.1 ประวัติและความเป็นมาของชุมชน
ในสมัยก่อน (64 ปีที่ผ่านมา) พื้นที่ชุมชนเป็นพื้นที่ทำนา โดยมี 5 ครอบครัวเข้ามาอยู่อาศัย
ต่อมาเปลี่ยนแปลงเป็นอาชีพทำสวนส้ม คนจากพื้นที่อื่นเริ่มอพยพเข้ามาเพื่อทำสวนส้มเหมือนกัน
แต่หลังจากนั้นก็ได้เกิดปัญหาเนื่องจากน้ำเค็มไหลเข้ามาในสวน หลังจากนั้นหน่วยงานราชการมา
ยึดพื้นที่ทำกินคืนเพื่อสร้างเป็นสวนธนบุรีในปัจจุบัน เดิมพื้นที่นั้นเป็นของชาวบ้านแต่เมื่อมีสุเหร่า
เข้ามา ชาวบ้านก็บริจาคพื้นที่บางส่วนให้สุเหร่าไป และบางส่วนก็เก็บไว้เป็นของตนเอง และทำเป็น
โฉนดขึ้น แต่ได้เกิดปัญหาคือ ลูก ๆ ได้นำโฉนดเข้าธนาคาร และก็ถูกยึดในที่สุด ที่ดินก็เป็นของ
ธนาคาร และเมื่อเอกชนหรือนายทุนเข้ามาซื้อ ที่ดินนั้นก็เป็นของเอกชนหรือนายทุนไป ทำให้
ปัจจุบันนี้ชาวบ้านเป็นเพียงแค่ผู้อยู่อาศัย
เริ่มก่อตั้งในปี พ.ศ. หรือประมาณ 70 ปีมาแล้ว
การก่อตั้งชุมชนนั้นไม่เป็นที่แน่ชัดว่าก่อตั้งเมื่อ แต่มีการบอกเล่าจากคนดั้งเดิมในชุมชนว่า
มีการก่อตั้งมา 70 ปี โดยกลุ่มคนที่อพยพเข้ามาอยู่ในสมัยนั้นส่วนใหญ่เป็นคนอีสาน และกลุ่มคน
เชื้อสายจีน
1.2 โครงสร้างพื้นฐานชุมชนเริ่มเข้าไปพัฒนา
1. ใช้เรือในการเดินทางหรือขนส่งข้าวในการเกษตร
2. มีถนนเริ่มเข้ามาในชุมชน
3. พื้นที่ได้แบ่งมาจัดตั้งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
4. เริ่มมีไฟฟ้าเข้ามาเมื่อ 55 ปีก่อน
สถานที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา
1. มัสยิดดาริสสลาม
1.3 สภาพปัจจุบัน ประชากรทั้งหมด 1045 คน ชาย 525 คน หญิง 520 คน
ในหมู่บ้าน/ชุมชนมีครัวเรือน 165 ครอบครัว มีบ้าน 230 หลังคาเรือน
ข้อมูลจากสำนักงานเขตทุ่งครุ กรุงเทพมหานคร
1.4 วัฒนธรรม/ประเพณี/ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในอดีต-ปัจจุบัน
วัฒนธรรมประเพณีในอดีตจะเกี่ยวกับการทำนา แต่ปัจจุบันนี้วัฒนธรรมเหล่านั้นได้สูญหายไปแล้ว
วัฒนธรรมชุมชนจึงเป็นวัฒนธรรมเฉพาะกลุ่มที่อพยพเข้ามา และส่วนใหญ่เป็นวัฒนธรรมสากล
เช่น วันปีใหม่ เป็นต้น
1.5 ปัญหาสำคัญภายในชุมชนมีดังนี้
1. ปัญหาเกี่ยวการเวนคืน โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีจะนำไปสร้าง
ขยายพื้นที่
2. ปัญหาขยะ
3. ปัญหาการลักเล็กขโมยน้อย
4. ปัญหายาเสพติด
1.6 การทำงานร่วมกับหน่วยงานภายนอกชุมชนทั้งภาครัฐและเอกชน
1. สมาชิกสภากรุงเทพมหานครเข้ามาช่วยในกิจกรรมของชุชน เช่น การจัดงานวันเด็ก
2. สาธารณสุขเข้ามาดูแลเรื่องสุขภาพของคนในชุมชน
1.7 แผนที่ชุมชน
1.8 ภาพสภาพแวดล้อมของชุมชน
2. ข้อมูลแบบสัมภาษณ์ของคณะกรรมการชุมชน
ชื่อชุมชน หลังสวนธนบุรีรมย์
ชื่อผู้ให้สัมภาษณ์ นายสมัคร ผจงกิจการ ตำแหน่ง/หน้าที่ ประธานชุมชน
1. ที่ตั้งของชุมชน 45 หมู่ 2
2. อาณาเขตติดต่อ
- ทิศเหนือติดกับ ชุมชนบางมดหมุ่ 3
- ทิศตะวันออกติดกับ สวนธนบุรีรมณ์
- ทิศใต้ติดกับ ม. วิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
- ทิศตะวันตกติดกับ สาธารณสุข 54
3. คณะกรรมการชุมชนมีบทบาทในการพัฒนาหรือการปกครองชุมชนอย่างไรบ้าง
พัฒนาหรือปกครองโดยอาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชน เช่น การรณรงค์รักษา
ความสะอาดของชุมชน มีการจัดเก็บขยะ การขุดลอกคูคลองของชุมชน โดยอาศัยสมาชิก
ของชุมชนเป็นหลักในการพัฒนา
4. ภายในชุมชนมีสถานที่สำคัญอะไรบ้างและมีความเป็นมาอย่างไร
สวนธนบุรีรมณ์
เป็นสวนผลไม้ปละทุ่งหญ้าในสมัยก่อน และเป็นส่วนส้มบางมด กรรม
สิทธ์ที่ดินเป็นของสำนักงานทรัพสินส่วนพระมหากษัตริย์ ซึ่งเมื่อปี 2503 นายชำนาญ ยว
บูรณ์ ได้มีนโยบาย ให้ปรับปรุงสถานที่แห่งนี้เป็นสถานที่เพาะชำต้นไม้บางมด และปี 2511
พระยามไหสวรรค์ นายกเทศมนตรีนครธนบุรี ให้ปรับปรุงสถานที่แห่งนี้เป็น
สวนสาธารณะเพื่อหารพักผ่อนของคนในชุมชน
5. ชุมชนมีกฏระเบียบหรือข้อบังคับในการอยู่ร่วมกันภายในชุมชนอย่างไรบ้าง
ไม่มีเป็นลายลักษณอักษร อาศัยความสัมพันธ์ของชุมชน ให้สามารถอยู่ร่วมกนได้
อย่างมีความสุข อาศัยการป้องปรามในกรณีเกิดปัญหาในชุมชน เช่น ยาเสพติด มีการ
สอดส่องดูแล จากคณะกรรมการอย่างทั่วถึง ไม่ให้คนภายนอกเข้ามาค้าขายยาเสพติดใน
ชุมชน
6. ชุมชนมีนโยบายหรือแผนในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง
ดำเนินงานตามแผนของสำนักงานเขตทุ่งครุ
7. ในชุมชนมีปัญหาอะไรบ้าง
- ปัญหาด้านสังคม
มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหายาเสพติด
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาลักเล็กขโมยน้อย, ปัญหาวิ่งราว, ปัญหา
ทะเลาะกัน, ปัญหาการหย่าร้าง, ปัญหาผู้สูงอายุถูกทอดทิ้ง, ปัญหาความขัดแย้งกันในชุมชน
- ปัญหาด้านเศรษฐกิจ
มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาหนี้นอกระบบ, ปัญหาหนี้ในระบบ, ปัญหา
การขาดแหล่งทุนสำหรับกู้ยืม
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาว่างงาน ปัญหาการขาดโอกาสในการ
ประกอบอาชีพใหม่, ปัญหาการขาดโอกาสในการพัฒนาฝีมือ/ผลิตภัณฑ์, ปัญหารายได้น้อย
- ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาผิวจราจรแตกชำรุดหรือเป็นหลุมเป็นบ่อ,
ปัญหาการจราจรที่หนาแน่นและการเดินทางที่ไม่สะดวกสบาย, ปัญหาการขยายเครือข่ายของการ
ไฟฟ้าไม่ทั่วถึง, ปัญหาอุปกรณ์ไฟฟ้าชำรุดและไม่ได้รับการซ่อมแซม, ปัญหาน้ำประปาไม่ทั่วถึง,
ปัญหาการสื่อสารและโทรคมนาคม เช่น โทรศัพท์สาธารณะไม่เพียงพอต่อความต้องการและไม่
ทั่วถึง
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาจราจรที่มักเกิดอุบัติเหตุ
- ปัญหาด้านสารธารณสุข
มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคที่มีสัตว์นำโรคเป็น
พาหา เช่น ยุง แมลง หนู, ปัญหาการติดสุรา, ปัญหาการติดบุหรี่,
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาความเสี่ยงในการเกิดโรคติดต่อทางเพศใม
พันธ์, ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ เช่นความดันโลหิต เบาหวาน, ปัญหาโรคไม่ติดต่อเช่น มะเร็ง
- ปัญหาด้านการศึกษา
มากมีอะไรบ้าง
ปานกลางมีอะไรบ้าง
นอ้ยมีอะไรบ้าง ปัญหาการขาดโอกาสในการศึกษา, ปัญหาการศึกษาใน
ระบบโรงเรียนยังขาดแคลนงบประมาณ หรือทุนสนับสนุนการศึกษา
- ปัญหาด้านศาสนา
ไม่มีปัญหาทางด้านศาสนา
- ปัญหาด้านประเพณีและวัฒนธรรม
ไม่มีปัญหาทางด้านประเพณีและวัฒนธรรม
- ปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาขยะมูลฝอย, ปัญหาชุมชนแออัด, ปัญหา
ด้านการขาดการฟื้นฟูรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- ปัญหาด้านการเมืองการบริหาร
ไม่มีปัญหาด้านการเมืองการบริหาร
8. จงเรียงลำดับความสำคัญของปัญหาที่ชุมชนต้องแก้ไขเร่งด่วนมากที่สุด เพราะอะไร
8.1 ปัญหาผู้สูงอายุ เพราะ ไม่มีเบี้ยยังชีพ ซึ่งไม่ทั่วถึง
8.2 ปัญหาทางสัญจรในชุมชน เพราะ เป็นแค่เพียงถนนคนเดิน รถจักรยานยนต์
และรถยนต์ไม่สามารถวิ่งผ่านได้
8.3 ปัญหาน้ำในคลองเน่าเสีย เพราะ หมู่บ้านข้างเตียงปล่อยน้ำเสียลงสู่ลำคลอง ซึ่ง
ไม่ได้รับการบำบัด
9. ในชุมชนมีกลุ่มกิจกรรมอะไรบ้างที่ทางราชการและเอกชนเข้ามาส่งเสริม
- ด้านสุขภาพ
มี กิจกรรมอะไรบ้าง กิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ,
กิจกรรมส่งเสริมเยาวชนรักกีฬา, กิจกรรมเต้นแอโรบิค, , กิจกรรมรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด,
กิจกรรมป้องกันโรคควบคุมโรคเบาหวาน, กิจกรรมรณรงค์ป้องกันควบคุมความดันโลหิต,
กิจกรรมรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออก, กิจกรรมการตรวจมะเร็งปากมดลูก, กิจกรรมการตรวจมะเร็ง
เต้านม
ไม่มี กิจกรรมอะไรบ้าง กิจกรรมรณรงค์วันงดสูบบุหรี่, กิจกรรมรณรงค์
ป้องกันอุบัติเหตุจากการจราจร
- ด้านอาชีพ
มี กิจกรรมอะไรบ้าง -
ไม่มี กิจกรรมอะไรบ้าง การฝึกอบรมอาชีพเสริม, กิจกรรมชีวิตพอเพียง
ตามแนวพระราชดำริ, จัดตั้งกลุ่มแม่บ้านการส่งเสริมการท่องเที่ยว, ส่งเสริมรายได้พิเศษของเด็ก,
กลุ่ม OTOP
- ด้านการออมทรัพย์
มี กิจกรรมอะไรบ้าง กองทุนหมู่บ้าน
ไม่มี กิจกรรมอะไรบ้าง การทำบัญชีครัวเรือน, กลุ่มฌาปนกิจ, กลุ่มออม
ทรัพย์, กองทุนร้านค้าในชุมชน, กองทุนประกอบอาชีพ
- ด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
มี กิจกรรมอะไรบ้าง การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม, การทำบุญตักบาตร,
กิจกรรมวันปีใหม่และวันสงกรานต์, การส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม, ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับศาสนพิธีและ
วันสำคัญทางศาสนา
ไม่มี กิจกรรมอะไรบ้าง -
- ด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม
มี กิจกรรมอะไรบ้าง การป้องกันยาเสพติด, มีการรวมกลุ่มกิจกรรมของ
ผู้สูงอายุ, กิจกรรมเพื่อเยาวชน, ส่งเสริมสถาบันครอบครัว, ป้องกันการขโมย, กิจกรรมห่วงใยวัย 70
ปี, สงเคราะห์ผุ้ด้วยโอกาสด้านการศึกษา อาชีพ, การเลี้ยงดูคนพิการ
ไม่มี กิจกรรมอะไรบ้าง กองทุนพัฒนาชุมชน, กองทุนผู้สูงอายุการ
- ด้านการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อม
มี กิจกรรมอะไรบ้าง การประกวดชุมชนน่าอยู่, การเก็บขยะในชุมชน,
การขุดลอกคูคลอง, ปลูกต้นไม้ให้สวยงาม, ปรับปรุงหรือซ่อมแซม, รณรงค์ให้ทิ้งขยะในถังขยะ,
การอบรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม, จัดคนในชุมชนเป็นผู้ทำความสะอาด เพื่อให้มีรายได้
ไม่มี กิจกรรมอะไรบ้าง การเฝ้าระวังคุณภาพน้ำ
- ด้านการเมืองการปกครอง
มี กิจกรรมอะไรบ้าง รณรงค์ให้ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งทุก ๆ ครั้งที่มีการ
เลือกตั้ง, อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเมือง
ไม่มี กิจกรรมอะไรบ้าง -
10. ชุมชนมีโครงการในการพัฒนาชุมชนอะไรบ้างและแต่ละโครงการมีกิจกรรมอย่างไร
10.1 ปรับสภาพพื้นผิวจราจร สถานที่ในชุมชน กำลังดำเนินการ
10.2 ติดตั้งระบบน้ำประปา สถานที่ในชุมชน กำลังดำเนินการอยู่
10.3 ไฟฟ้าส่องทางเดินในชุมชน สถานที่ในชุมชน กำลังดำเนินการอยู่
10.4 ซื่อเครื่องดับเพลิง สถานที่ในชุมชน กำลังดำเนินการอยู่
11. คนดีและเก่งที่เป็นกำลังสำคัญในชุมชน
- ด้านการทำอาหาร (ไม่ตอบ)
- ด้านการช่าง (ไม่ตอบ)
- ด้านการเกษตร (ไม่ตอบ)
- ด้านศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม (ไม่ตอบ)
- ด้านการแพทย์แผนไทย (ไม่ตอบ)
- ด้านการประดิษฐ์ (ไม่ตอบ)
- ด้านอื่น ๆ (ไม่ตอบ)
12. ในชุมชนมีจุดอ่อนจุดแข็งอะไรบ้าง
จุดแข็ง
- ช่วยกันพัฒนาชุมชน
- มีลานกีฬาชุมชน (เป็นการป้องกันยาเสพติด)
- มีกองทุนเงินล้าน
จุดอ่อน
- น้ำประปาและไฟฟ้ายังไม่ทั่วถึง
- ทางสัญจรภายในชุมชนยังไม่สะดวก
13. รายชื่อคณะกรรมการหมู่บ้าน
1. นายสมัคร ผจงกิจการ ตำแหน่ง ประธาน
2. นายแหล่ม มิ่งโมธา ตำแหน่ง รองประธาน
3. นายจุมพล จันทาคอน ตำแหน่ง รองประธาน
4. นางผัน มีฝัก ตำแหน่ง เลขาฯ
5. นางปราณี พรายสุขแสง ตำแหน่ง ประชาสัมพันธ์/ปฏิคม
6. นายชลิต บุญทับ ตำแหน่ง ฝ่ายรักษาความสะอาด
7. นายสำนึก ปู่แตงอ่อน ตำแหน่ง ฝ่ายรักษาความปลอดภัย
8. นายประมวล กลิ่นทองหลาง ตำแหน่ง ฝ่ายกิจกรรรม
9. นายวิโรจน์ ค้ำจุน ตำแหน่ง ประชาสัมพันธ์
10. นายเดวิล กอเสม ตำแหน่ง ฝ่ายทะเบียน
11. นายชาติ เอี่ยมศรีงาม ตำแหน่ง เหรัญญิก
14. รายชื่อพัฒนาชุมชน (อช.)
ไม่มี
15. รายชื่ออาสาสาธารณประจำชุมชน (อส.ม)
1. นางสมสมัย ผจงกิจจา เบอร์โทร
2. นายชาติ เอี่ยมศรีงาม เบอร์โทร
3. นางประทุม แช่มเมือง เบอร์โทร
16. ในชุมชนมีสิ่งที่ทำให้สมาชิกในชุมชนมีความภาคภูมิใจอะไรบ้างเพราะอะไร
1. ชุมชนเข้มแข็ง เพราะ การมีส่วนร่วมของชุมชนในการช่วยแก้ไขปัญหาร่วมกัน
2. ชุมชนน่าอยู่ เพราะ ทุกคนมีส่วนช่วยรักษาความสะอาดในชุมชน
3. สาธารณสุขภายในชุมชน เพราะ มีส่วนช่วยรักษาพยาบาลคนในชุมชนในเบื่อง
ต้น (ก่อนถูกส่งโภรงพยาบาลหากอาการหนัก)
17. ชุมชนมีความต้องการหรือความคาดหวังในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง
- สาธารณูปโภคที่ครบถ้วน เช่น ประปา และไฟฟ้าให้มีอย่างทั่วถึง
- ความปลอดภัยในทรัพสินของคนในชุมชน
3. ข้อมูลแบบสอบถามของชุมชน
3.1. ส่วนที่ 1 ข้อมูลด้านประชากรของสมาชิก
ในครัวเรือน
3.1.1 ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนของชุมชน
ประกอบด้วย ข้อมูลรวมของสมาชิกในครัวเรือน
ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเพศชาย และ
ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเพศหญิง
ตาราง 1 แสดงจำนวนสมาชิกในครัวเรือน
ครัวเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนนี้มีสมาชิก
ประมาณ 3 คนต่อครัวเรื่อน
3.1.2 ข้อมูลส่วนบุคคลของสมาชิกในครัวเรือน
ทั้งหมด
ตาราง 2 ร้อยละของเพศชายและเพศหญิง
ชุมชนหลังสวนธนฯ ประชากรประกอบด้วยเพศ
ชาย ร้อยละ 49.1 เพศหญิงร้อยละ 50.9
ตาราง 3 ร้อยละของอายุประชากรในชุมชน
ชุมชนหลังสวนธนฯ ประชากรส่วนใหญ่มีอายุ
อยู่ในช่วง 31-40 ปี มีเด็กอายุอยู่ในช่วง 0-10 ปี
ร้อยละ 5.9 และผู้สูงอายุ61ปีขึ้นไปร้อยละ 4.5
ตาราง 4 ระดับการศึกษา
ชุมชนหลังสวนธนฯ ประชากรส่วนใหญ่มี
การศึกษาในระดับปริญญาตรี
ตาราง 5 การนับถือศาสนา
ชุมชนหลังสวนธนฯ ประชากรส่วนใหญ่นับถือ
ศาสนาพุทธ
ตาราง 6 รายได้ของคนในชุมชน
ชุมชนหลังสวนธนฯ ประชากรส่วนใหญ่มี
รายได้อยู่ในช่วง 10001-15000 บาท
ตาราง 7 รายจ่ายของคนในชุมชน
ชุมชนหลังสวนธนฯ ประชากรส่วนใหญ่มี
รายจ่ายอยู่ในช่วง 5001 10000 บาท
ตาราง 8 อาชีพหลัก ของคนในชุมชน
ชุมชนหลังสวนธนฯ ประชากรส่วนใหญ่
ประกอบอาชีพหลักคืออาชีพอื่น ๆ ที่
นอกเหนือจากที่ระบุ
ตาราง 9 อาชีพเสริม ของคนในชุมชน
คนในชุมชนหลังสวนธนฯ ส่วนใหญ่ร้อยละ
100ไม่มีอาชีพเสริม
ตาราง 10 โรคประจำตัวของคนในชุมชน
โรคประจำตัว ของคนในชุมชนหลังสวนธนฯ
ได้แก่ ความดันโลหิต และเบาหวาน
3.1.3ตารางที่ 11 สถานะภาพครอบครัวในชุมชน
คนในชุมชนแยกกันอยู่หรือหย่าร้างประมาณ
ร้อยละ 2.8
3.1.4 ข้อมูลความขัดแย้งหรือการทะเลาะกันใน
ครัวเรือน (ตารางที่ 12)
คนในชุมชนหลังสวนธนฯ ร้อยละ 11.4 ทะเลาะ
กันอาทิตย์ละ1-2 ครั้ง
3.1.5 จำนวนข้อมูลผู้ว่างงานในครัวเรือน
(ตารางที่ 13)
ในครัวเรือนในชุมชนส่วนใหญ่มีคนว่างงาน
ประมาณ 1 คน
3.1.6 ข้อมูลจำนวนผู้พิการในครัวเรือน
(ตารางที่ 14)
มีอยู่ประมาณ 1 ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็นร้อย
ละ 1.4 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.7 ข้อมูลจำนวนผู้ติดสุราในครัวเรือน
(ตารางที่ 15)
มีผู้ติดสุรา 1 คนคิดเป็นร้อยละ 1.4 ของครัวเรือน
ทั้งหมด
3.1.8 ข้อมูลจำนวนผู้ติดบุหรี่ในครัวเรือน
(ตารางที่ 16)
มีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คนคิดเป็นร้อยละ 1.4
ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.9 ข้อมูลการเล่นการพนันในครัวเรือน
ประกอบด้วย การเล่นการพนันของสมาชิกใน
ครัวเรือน และข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือน
ที่เล่นการพนัน
ข้อมูลการเล่นพนันของสมาชิกในครัวเรือน
(ตารางที่ 17)
มีเล่นการพนันคิดเป็นร้อยละ 5.7 ของครัวเรือน
ทั้งหมด
ข้อมูลจำนวนสมาชิกที่เล่นการพนันในครัวเรือน
(ตารางที่ 18)
มีผู้เล่นการพนัน 1คน 3 ครอบครัว คิดเป็นร้อย
ละ 4.3 และมีผู้เล่นการพนัน 2 คน 1 ครอบครัว
คิดเป็นร้อยละ 1.4 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.10 ข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของ
สมาชิกในครัวเรือน ประกอบด้วย ข้อมูลการซื้อ
สลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกในครัวเรือน
ข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล และข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลาก
กินแบ่งรัฐบาล
ข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกใน
ครัวเรือน (ตารางที่ 19)
มีผู้ซื้อกลากกินแบ่งคิดเป็นร้อยละ 5.7 ของครัว
เรื่อนทั้งหมด
ข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล (ตารางที่ 20)
(ตารางที่ 19-20) ร้อยละ 4.3 ของครัวเรือน
ทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล ส่วนใหญ่จะซื่อ
ประมาณ 1 คนในครอบครัว
ข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล
(ตารางที่ 21)
ส่วนใหญ่ใช้เงินซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลเดือนละ
400 บาท
3.1.11 ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่ายของ
ครัวเรือน ประกอบด้วย ค่าอาหาร ค่าเช่าบ้าน
หรือผ่านบ้าน ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ค่า
การศึกษาบุตร ค่าเดินทาง ค่าเครื่องใช้ใน
ครัวเรือน ค่าเครื่องใช้ส่วนตัว และค่า
รักษาพยาบาล
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าอาหารของครัวเรือน (ตารางที่ 22)
ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 2
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านของครัวเรือน
(ตารางที่ 23)
ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 4
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
น้ำ ค่าไฟ และค่าโทรศัพท์ของครัวเรือน
(ตารางที่ 24)
ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ
อันดับ 6
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
การศึกษาของบุตร (ตารางที่ 25)
ค่าเล่าเรียนบุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ
อันดับ 8
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เดินทาง (ตารางที่ 26)
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้
ความสำคัญอันดับ 3
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
ของใช้ในครัวเรือน (เช่น สบู่ แชมพู ผงซักฟอก
เครื่องใช้ไฟฟ้า ฯลฯ) (ตารางที่ 27)
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่ แชมพู ผงซักฟอก
เครื่องใช้ไฟฟ้า มีความสำคัญอันดับ 1
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เครื่องใช้ส่วนตัว (เช่น เสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้า
ฯลฯ) (ตารางที่ 28)
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัวให้
ความสำคัญอันดับ 2
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
รักษาพยาบาล (ตารางที่ 29)
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้
ความสำคัญอันดับ 7
3.1.12 ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน
ประกอบด้วย ข้อมูลการออมเงิน และข้อมูล
จำนวนเงินออม
ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน (ตารางที่ 30)
มีการออมเงินร้อยละ 4.3 ของครัวเรือนทั้งหมด
ข้อมูลจำนวนเงินออมในครัวเรือน (ตารางที่ 31)
ร้อยละ 92.9 ของครัวเรือนไม่มีเงินออม
3.1.13 ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน
ประกอบด้วย ข้อมูลการมีหนี้สิน และข้อมูล
จำนวนหนี้สิน
ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน (ตารางที่ 32)
ร้อยละ 5.7 ของครัวเรือนมีหนี้สิน
ข้อมูลจำนวนหนี้สินในครัวเรือน (ตารางที่ 33)
ร้อยละ 92.9 ของครัวเรือนไม่มีหนี้สิน
3.1.14ข้อมูลการทำรายรับ รายจ่าย
(ตารางที่ 34)
ไม่มีครอบครัวใดที่ทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย
3.2. ส่วนที่ 2 ข้อมูลด้านที่อยู่อาศัย
3.2.1 ภูมิลำเนาเดิม
ต่างจังหวัดได้แก่ อยุธยา 1 ครัวเรือน เลย 1
ครัวเรือน โคราช 1 ครัวเรือน
กรุงเทพฯ และปริมณฑลได้แก่ ราษฎร์บูรณะ 3
ครัวเรือน คลองสาน 1 ครัวเรือน จอมทอง 1
ครัวเรือน กรุงเทพฯ 3 ครัวเรือน บางขุนเทียน 1
ครัวเรือน
3.2.2 ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในชุมชน
(ตารางที่ 35)
อาศัยอยู่ในชุมชนในช่วง 3-60 ปี ส่วนใหญ่
อาศัยอยู่ประมาณ 30 ปี
3.2.3 การครอบครองที่อยู่อาศัย ประกอบด้วย
ข้อมูลการครอบครองที่อยู่อาศัย และข้อมูลด้าน
จำนวนพื้นที่อยู่อาศัย
การครอบครองที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 36)
ที่พักอาศัยส่วนใหญ่เป็นเจ้าของร้อยละ 62.9
จำนวนพื้นที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 37)
ส่วนใหญ่มีพื้นที่อยู่อาศัยประมาณ 9 ตรว.
3.2.4 ลักษณะของที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 38)
ส่วนใหญ่ที่อยู่อาศัยเป็นแบบบ้านเดี่ยวชั้นเดียว
ร้อยละ 57.1
3.2.5 บริเวณที่อยู่อาศัยของท่านมีความปลอดภัย
ในชีวิตและทรัพย์สินหรือไม่ (ตารางที่ 39)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 55.7 เห็นว่ามีความปลอดภัยใน
ระดับน้อย
3.2.6 ครัวเรือนของท่านถูกรบกวนจากภาวะ
ต่าง ๆ หรือไม่
ถูกรบกวนจากขยะ (ตารางที่ 40)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 38.6 เห็นว่าถูกรบกวนจากขยะ
ในระดับปานกลาง
ถูกรบกวนจากน้ำเน่าเสีย (ตารางที่ 41)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 40 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำเสีย
ในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากน้ำท่วม (ตารางที่ 42)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 62.9 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำ
ท่วมในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากเสียงดัง (ตารางที่ 43)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 61.4 เห็นว่าถูกรบกวนจาก
เสียงดังในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากการจราจรติดขัด (ตารางที่ 44)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 เห็นว่าถูกรบกวนจากจราจร
ติดขัดะในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากฝุ่นควันและก๊าซพิษ (ตารางที่ 45)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 61.4 เห็นว่าถูกรบกวนจากฝุ่น
ควันและก๊าซพิษในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากด้านอื่น ๆ (ตารางที่ 46)
ส่วนใหญ่ร้อยละ77.1 ไม่ตอบว่าถูกรบกวนจาก
สิ่งอื่นๆ
3.2.7 ในรอบปีที่ผานมาครัวเรือนของท่านได้รับ
การช่วยเหลือหรือการสนับสนุน ด้านใดบ้างและ
จากหน่วยงานใด (เช่น) ค่าเล่าเรียนบุตร การ
ส่งเสริมอาชีพ การพ่นหมอกควันกำจัดยุง
(ตารางที่ 47)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 81.4 ไม่ได้รับความช่วยเหลือ
จากหน่วยงานต่างๆ
สิ่งที่ได้รับการสนับสนุน มีการพ่นหมอกควัน
กำจัดยุงลาย
ความต้องการการสนับสนุน
1. สวัสดิการชุมชน จำนวน 4 ราย
2. ขุดลอกคลอง จำนวน 1 ราย
3. อาชีพเสิรม จำนวน 1 ราย
3.3 ส่วนที่ 3 ข้อมูลด้านการเป็นสมาชิกกลุ่มหรือ
การร่วมทำกิจกรรมที่ได้รับการส่งเสริม
3.3.1 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านสุขภาพ
กิจกรรมออกกำลังกายผู้สูงอายุ (ตารางที่ 48)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
สุขภาพ
เยาวชนรักกีฬา (ตารางที่ 49)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 81.4 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
เยาวชนรักกีฬา
เต้นแอโรบิค (ตารางที่ 50)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 75.7 เข้าร่วมกิจกรรมเต้น
แอโรบิค
งดสูบบุหรี่ (ตารางที่ 51)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.3 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมงด
สูบบุหรี่
ต่อต้านยาเสพติด (ตารางที่ 52)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 68.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ต่อต้านยาเสพติด
ป้องกันอุบัติเหตุ (ตารางที่ 53)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 88.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ป้องกันอุบัติเหตุ
ควบคุมเบาหวาน (ตารางที่ 54)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 51.4 เข้าร่วมกิจกรรมควบคุม
เบาหวาน
ควบคุมความดันโลหิต (ตารางที่ 55)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 57.1 เข้าร่วมกิจกรรมควบคุม
ความดันโลหิต
ควบคุมไข้เลือดออก (ตารางที่ 56)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 55.7 เข้าร่วมกิจกรรมควบคุม
ไข้เลือดออก
ตรวจมะเร็งปากมดลูก (ตารางที่ 57)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 48.6 เข้าร่วมกิจกรรมตรวจ
มะเร็งปากมดลูก
ตรวจมะเร็งเต้านม (ตารางที่ 58)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 50 เข้าร่วมกิจกรรมควบคุม
มะเร็งเต้านม
3.3.2 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านอาชีพ
ฝึกอาชีพเสริม (ตารางที่ 59)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมฝึก
อาชีพเสริม
ส่งเสริมการท่องเที่ยว (ตารางที่ 60)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ส่งเสริมการท่องเที่ยว
ส่งเสริมรายได้เด็ก (ตารางที่ 61)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 97.1 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมเสริม
รายเด็ก
กิจกรรมชีวิตพอเพียง (ตารางที่ 62)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 75.7 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมชีวิต
พอเพียง
กลุ่มแม่บ้าน (ตารางที่ 63)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่ม
แม่บ้าน OTOP (ตารางที่ 64)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
OTOP
3.3.3 ข้อมูลด้านการออมทรัพย์
การทำบัญชีครัวเรือน (ตารางที่ 65)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 97.1 ตอบว่าไม่ทำบัญชี
ครัวเรือน
กองทุนหมู่บ้าน (ตารางที่ 66)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 82.9 เข้าร่วมกิจกรรมกองทุน
หมู่บ้าน
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
กลุ่มณาปนกิจ
กลุ่มออมทรัพย์ (ตารางที่ 68)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 88.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่ม
ออมทรัพย์
กองทุนอาชีพ (ตารางที่ 69)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
กองทุนอาชีพ
ร้านค้าชุมชน (ตารางที่ 70)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ร้านค้าชุมชน
ออมทรัพย์อื่นๆ (ตารางที่ 71)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมออม
ทรัพย์อื่นๆ
3.3.4 ข้อมูลด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
อนุรักษ์ศิลปะ (ตารางที่ 72)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 67.1 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่ม
อนุรักษ์ศิลปะ
การทำบุญตักบาตร (ตารางที่ 73)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 82.9 เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มออม
ทรัพย์
วันปีใหม่สงกรานต์ (ตารางที่ 74)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 87.1 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมปี
ใหม่สงกรานต์
การส่งเสริมศิลปะ (ตารางที่ 75)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 70 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ส่งเสริมศิลปะ
ศาสนพิธี (ตารางที่ 76)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 61.4 เข้าร่วมกิจกรรมศาสนพิธี
พิธีอื่นๆ (ตารางที่ 77)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าไม่มีพิธีอื่น ๆ
3.3.5 ข้อมูลด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม
ป้องกันยาเสพติด (ตารางที่ 78)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 65.7 เข้าร่วมกิจกรรมป้องกันอ
ยาเสพติด
กลุ่มผู้สูงอายุ (ตารางที่ 79)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.3 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่ม
ผู้สูงอายุ
กิจกรรมเยาวชน (ตารางที่ 80)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
เยาวชน
ป้องกันขโมย (ตารางที่ 81)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ป้องกันขโมย
กิจกรรมห่วงใยวัย70 (ตารางที่ 82)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ห่วงใยวัย70
ส่งเสริมสถาบันครอบครัว (ตารางที่ 83)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ส่งเสริมสถาบันครอบครัว
กิจกรรมส่งเคราะห็ผู้ด้อยโอกาส(ตารางที่ 84)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 68 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมส่งเค
ระห์ผู้ด้อยโอกาส/ผู้พิการ
กองทุนพัฒนาชุมชน (ตารางที่ 85)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
กองทุนพัฒนาชุมชน
กองทุนผู้สูงอายุ (ตารางที่ 86)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
กองทุนผู้สูงอายุ
3.3.6 ข้อมูลด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม
ระวังคุณภาพน้ำ (ตารางที่ 87)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมเฝ้า
ระวังคุณภาพน้ำ
ชุมชนน่าอยู่ (ตารางที่ 88)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 55.7 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ชุมชนน่าอยู่
เก็บขยะในชุมชน (ตารางที่ 89)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 88.6 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
เก็บขยะในชุมชน
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (ตารางที่ 90)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 97.1 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ขุดลอกคูคลอง (ตารางที่ 91)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.3 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
ขุดลอกคูคลอง
ปลูกต้นไม้ (ตารางที่ 92)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 62.9 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
ปลูกต้นไม้
ส่วนใหญ่ร้อยละ 64.3 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
ซ่อมแซมสาธารณูปโภค
ทำความสะอาด (ตารางที่ 100)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 92.9 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมทำ
ความสะอาด
ทิ้งขยะในถัง (ตารางที่ 101)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 65.7 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
ทิ้งขยะในถัง
3.3.7 ข้อมูลด้านการเมืองการปกครอง
รณรงค์เลือกตั้ง (ตารางที่ 102)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 54.3 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
รณรงค์เลือกตั้ง
อบรมความรู้การเมือง (ตารางที่ 103)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 58.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
อบรมความรู้การเมือง
สรุปข้อมูลจากการสำรวจโดยแบบสอบถามระหว่างวันที่
..................
สำรวจโดยใช้แบบสอบถามจากครัวเรือนทั้งหมด 70 ครัวเรือนคิดเป็น 60 เปอร์เซนต์ของ
ครัวเรือนทั้งหมดในชุมชน ส่วนใหญ่ในชุมชนนี้มีสมาชิกประมาณ 3 คนต่อครัวเรื่อน ชุมชนหลังสวน
ธนฯ ประชากรประกอบด้วยเพศชาย ร้อยละ 49.1 เพศหญิงร้อยละ 50.9 ชุมชนหลังสวนธนฯ ประชากร
ส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง 31-40 ปี มีเด็กอายุอยู่ในช่วง 0-10 ปีร้อยละ 5.9 และผู้สูงอายุ61ปีขึ้นไปร้อยละ
4.5 ชุมชนหลังสวนธนฯ ประชากรส่วนใหญ่มีการศึกษาในระดับปริญญาตรี ชุมชนหลังสวนธนฯ
ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ชุมชนหลังสวนธนฯ ประชากรส่วนใหญ่มีรายได้อยู่ในช่วง
10001-15000 บาท ชุมชนหลังสวนธนฯ ประชากรส่วนใหญ่มีรายจ่ายอยู่ในช่วง 5001 10000 บาท
ชุมชนหลังสวนธนฯ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพหลักคืออาชีพอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากที่ระบุ คนใน
ชุมชนหลังสวนธนฯ ส่วนใหญ่ร้อยละ 100ไม่มีอาชีพเสริม โรคประจำตัว ของคนในชุมชนหลังสวนธนฯ
ได้แก่ ความดันโลหิต และเบาหวาน คนในชุมชนแยกกันอยู่หรือหย่าร้างประมาณ ร้อยละ 2.8 คนใน
ชุมชนหลังสวนธนฯ ร้อยละ 11.4 ทะเลาะกันอาทิตย์ละ1-2 ครั้ง ในครัวเรือนในชุมชนส่วนใหญ่มีคน
ว่างงาน ประมาณ 1 คน มีอยู่ประมาณ 1 ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็นร้อยละ 1.4 ของครัวเรือนทั้งหมด มีผู้
ติดสุรา 1 คนคิดเป็นร้อยละ 1.4 ของครัวเรือนทั้งหมด มีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คนคิดเป็นร้อยละ 1.4 ของ
ครัวเรือนทั้งหมด มีเล่นการพนันคิดเป็นร้อยละ 5.7 ของครัวเรือนทั้งหมด มีผู้เล่นการพนัน 1คน 3
ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 4.3 และมีผู้เล่นการพนัน 2 คน 1 ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 1.4 ของครัวเรือน
ทั้งหมด มีผู้ซื้อกลากกินแบ่งคิดเป็นร้อยละ 5.7 ของครัวเรื่อนทั้งหมด (ตารางที่ 19-20) ร้อยละ 4.3 ของ
ครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล ส่วนใหญ่จะซื่อประมาณ 1 คนในครอบครัว ส่วนใหญ่ใช้เงิน
ซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลเดือนละ 400 บาท ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่ แชมพู ผงซักฟอก เครื่องใช้ไฟฟ้า มี
ความสำคัญอันดับ 1 ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 2 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เครื่องใช้ส่วนตัวให้ความสำคัญอันดับ 2 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้ความสำคัญอันดับ 3
ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 4 ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 6 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้ความสำคัญอันดับ 7 ค่าเล่าเรียนบุตรเป็น
ค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 8 มีการออมเงินร้อยละ 4.3 ของครัวเรือนทั้งหมด ร้อยละ 92.9 ของ
ครัวเรือนไม่มีเงินออม ร้อยละ 5.7 ของครัวเรือนมีหนี้สิน ร้อยละ 92.9 ของครัวเรือนไม่มีหนี้สิน ไม่มี
ครอบครัวใดที่ทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย
ด้านที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมของครัวเรือน คนในชุมชนหลังสวนธนบุรีรมย์มีภูมิลำเนาเดิม
ต่างจังหวัดได้แก่ อยุธยา 1 ครัวเรือน เลย 1 ครัวเรือน โคราช 1 ครัวเรือน กรุงเทพฯ และปริมณฑลได้แก่
ราษฎร์บูรณะ 3 ครัวเรือน คลองสาน 1 ครัวเรือน จอมทอง 1 ครัวเรือน กรุงเทพฯ 3 ครัวเรือน บางขุนเทียน
1 ครัวเรือน อาศัยอยู่ในชุมชนในช่วง 3-60 ปี ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ประมาณ 30 ปี ที่พักอาศัยส่วนใหญ่เป็น
เจ้าของร้อยละ 62.9 ส่วนใหญ่มีพื้นที่อยู่อาศัยประมาณ 9 ตรว. ส่วนใหญ่ที่อยู่อาศัยเป็นแบบบ้านเดี่ยวชั้น
เดียวร้อยละ 57.1 ส่วนใหญ่ร้อยละ 55.7 เห็นว่ามีความปลอดภัยในระดับน้อย ส่วนใหญ่ร้อยละ 38.6
เห็นว่าถูกรบกวนจากขยะในระดับปานกลาง ส่วนใหญ่ร้อยละ 40 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำเสียในระดับ
น้อย ส่วนใหญ่ร้อยละ 62.9 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำท่วมในระดับน้อย ส่วนใหญ่ร้อยละ 61.4 เห็นว่าถูก
รบกวนจากเสียงดังในระดับน้อย ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 เห็นว่าถูกรบกวนจากจราจรติดขัดในระดับน้อย
ส่วนใหญ่ร้อยละ 61.4 เห็นว่าถูกรบกวนจากฝุ่นควันและก๊าซพิษในระดับน้อย ส่วนใหญ่ร้อยละ77.1 ไม่
ตอบว่าถูกรบกวนจากสิ่งอื่นๆ ส่วนใหญ่ร้อยละ 81.4 ไม่ได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆ สิ่งที่
ได้รับการสนับสนุน มีการพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย ความต้องการการ1. สวัสดิการชุมชน 2. ขุดลอก
คลอง 3. อาชีพเสิรม
ในด้านการเข้าร่วมกิจกรรมส่วนใหญ่ร้อยละ 98.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมสุขภาพ
ส่วนใหญ่ร้อยละ 81.4 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมเยาวชนรักกีฬา ส่วนใหญ่ร้อยละ 75.7 เข้าร่วมกิจกรรมเต้น
แอโรบิค ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.3 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมงดสูบบุหรี่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 68.6 ตอบว่าไม่มี
กิจกรรมต่อต้านยาเสพติด ส่วนใหญ่ร้อยละ 88.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมป้องกันอุบัติเหตุ ส่วนใหญ่ร้อยละ
51.4 เข้าร่วมกิจกรรมควบคุมเบาหวาน ส่วนใหญ่ร้อยละ 57.1 เข้าร่วมกิจกรรมควบคุมความดันโลหิต
ส่วนใหญ่ร้อยละ 55.7 เข้าร่วมกิจกรรมควบคุมไข้เลือดออก ส่วนใหญ่ร้อยละ 48.6 เข้าร่วมกิจกรรมตรวจ
มะเร็งปากมดลูก ส่วนใหญ่ร้อยละ 50 เข้าร่วมกิจกรรมควบคุมมะเร็งเต้านม ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่า
ไม่มีกิจกรรมฝึกอาชีพเสริม ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว ส่วนใหญ่
ร้อยละ 97.1 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมเสริมรายเด็ก ส่วนใหญ่ร้อยละ 75.7 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมชีวิตพอเพียง
ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่มแม่บ้าน ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม OTOP
ส่วนใหญ่ร้อยละ 97.1 ตอบว่าไม่ทำบัญชีครัวเรือน ส่วนใหญ่ร้อยละ 82.9 เข้าร่วมกิจกรรมกองทุน
หมู่บ้าน ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่มณาปนกิจ ส่วนใหญ่ร้อยละ 88.6 ตอบว่าไม่มี
กิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์ ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกองทุนอาชีพ ส่วนใหญ่ร้อยละ 100
ตอบว่าไม่มีกิจกรรมร้านค้าชุมชน ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมออมทรัพย์อื่นๆ ส่วนใหญ่
ร้อยละ 67.1 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกลุ่มอนุรักษ์ศิลปะ ส่วนใหญ่ร้อยละ 82.9 เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มออม
ทรัพย์ ส่วนใหญ่ร้อยละ 87.1 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมปีใหม่สงกรานต์ ส่วนใหญ่ร้อยละ 70 ตอบว่าไม่มี
กิจกรรมส่งเสริมศิลปะ ส่วนใหญ่ร้อยละ 61.4 เข้าร่วมกิจกรรมศาสนพิธี ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าไม่
มีพิธีอื่น ๆ ส่วนใหญ่ร้อยละ 65.7 เข้าร่วมกิจกรรมป้องกันอยาเสพติด ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.3 ตอบว่าไม่มี
กิจกรรมกลุ่มผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมเยาวชน ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่า
ไม่มีกิจกรรมป้องกันขโมย ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมห่วงใยวัย70 ส่วนใหญ่ร้อยละ 100
ตอบว่าไม่มีกิจกรรมส่งเสริมสถาบันครอบครัว ส่วนใหญ่ร้อยละ 68 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมส่งเคระห์
ผู้ด้อยโอกาส/ผู้พิการ ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกองทุนพัฒนาชุมชน ส่วนใหญ่ร้อยละ
100 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมกองทุนผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมเฝ้าระวังคุณภาพน้ำ
ส่วนใหญ่ร้อยละ 55.7 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมชุมชนน่าอยู่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 88.6 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
เก็บขยะในชุมชน ส่วนใหญ่ร้อยละ 97.1 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ส่วนใหญ่ร้อยละ 74.3
ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมขุดลอกคูคลอง ส่วนใหญ่ร้อยละ 62.9 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้ ส่วน
ใหญ่ร้อยละ 64.3 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมซ่อมแซมสาธารณูปโภค ส่วนใหญ่ร้อยละ 92.9 ตอบว่าไม่มี
กิจกรรมทำความสะอาด ส่วนใหญ่ร้อยละ 65.7 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมทิ้งขยะในถัง ส่วนใหญ่ร้อยละ
54.3 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมรณรงค์เลือกตั้ง ส่วนใหญ่ร้อยละ 58.6 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมอบรมความรู้
การเมือง
|