ชุมชนศรีสมิต
ชุมชน ศรีสมิต แขวง ทุ่งครุ เขตทุ่งครุ จังหวัด กรุงเทพมหานครฯ
1. ข้อมูลพื้นฐานของชุมชน
1.1 ประวัติและความเป็นมาของชุมชน
เริ่มมีคนย้ายเข้ามาอยู่ในปี 2517 สภาพชุมชนสมัยก่อนเป็นพื้นที่โล่งกว้าง ต่อมามีการ
อพยพย้ายถิ่นของกลุ่มชนที่มาจากสี่แยกบ้านแขก กรุงเทพมหานครโดยเข้ามาจับจองหรือพื้นที่
ชุมชนไว้ กลุ่มคนย้ายมาจากจังหวัดนครนายก สภาพพื้นที่ชุมชนในสมัยก่อนนั้นมีคลองสำหรับ
เดินเรือ และใช้สำหรับทำนาข้าว ต่อมาได้เปลี่ยนเป็นการทำสวนส้ม ปัจจุบันอาชีพเหล่านั้นไม่มีใน
ชุมชนแล้ว สภาพชุมชนมีน้ำท่วมขังอยู่
เริ่มก่อตั้งในปี พ.ศ. 2517 หรือประมาณ 34 ปีมาแล้ว
1.2 โครงสร้างพื้นที่ฐานชุมชนเริ่มเข้าไปพัฒนาเมื่อปี พ.ศ.2517
1. สร้างบ้านติดกับพื้นดิน
2. มีการสร้างเป็นบ้านเรือน
3. ปี พ.ศ. 2530 มีการใช้น้ำประปาในชุมชน
4. มีไฟฟ้า
1.3 สภาพปัจจุบัน ประชาชนทั้งหมด 580 คน ชาย 290 คน หญิง 290
คน ในหมู่บ้าน/ชุมชนมีครัวเรือน 167 ครอบครัว มีบ้าน 123 หลังคาเรือน
1.4 วัฒนธรรม/ประเพณี/ภูมิปัญญาท้องถิ่นในอดีต- ปัจจุบันมีอะไรบ้าง
วัฒนธรรมในชุมชนสามัคคีนั้นมีความหลากหลายเนื่องจากเป็นชุมชนที่มีวัฒนธรรม
ประเพณีและการละเล่นเป็นสากลทั่วไปที่ปรากฏให้เห็นในอดีตพบว่ามี
1. การทำบุญตักบาตรในวันสำคัญ เช่นวันปีใหม่ วันสงกรานต์
2. รดน้ำดำหัวในวันสงกรานต์
การแต่งงาน
วัดอื่น ๆ ไม่มี คนในชุมชนนับถือ 2 ศาสนา คือ ศาสนาพุทธ ใช้วัดทุ่งครุเป็นสถานที่
ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา และศาสนาอิสลาม เนื่องจากคนในชุมชนนับถือศาสนาอิสลามจึงมี
มัสยิดในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาอิสลาม โดยใช้มัสยิดชื่อ มัสยิดอาจินติกอมะ (อาจารย์ชัย)
ข้อมูลจากสำนักงานเขตทุ่งครุ กรุงเทพมหานคร
1.5 ปัญหาสำคัญภายในชุมชนมีอะไรบ้าง
1. น้ำท่วมขังในฤดูฝน
2. ปัญหาขยะมูลฝอยเนื่องในชุมชนไม่มีถังขยะ และระบบการจัดการขยะที่ดี โดยขยะส่วนใหญ่
เป็นจำพวกพลาสติก
3. ปัญหาน้ำเน่าเสียเนื่องจากไม่มีทางระบายน้ำ และการปล่อยน้ำในกิจกรรมของชุมชนลงสู่
คลอง
4. ปัญหาขโมย
5. ปัญหายาเสพติด
1.6 การทำงานร่วมกับหน่วยงานภายนอกชุมชนทั้งภาครัฐแลเอกชน
1. วัดทุ่งครุ และวัดพุทธบูชาในเรื่องการปลูกฝังคุณธรรม และจริยธรรม
2. โรงเรียนนาหลวง โรงเรียนราษฎร์บูรณะ และโรงเรียนเชตุพนฯ ที่สนับสนุนการศึกษาของ
บุตรหลานในชุมชน
3. สาธารณสุขที่เข้ามาช่วยกำจัดลูกน้ำยุงลาย และดูแลด้านสุขภาพของคนในชุมชน
4. ทำงานร่วมกับสำนักงานเขตในเรื่องการจัดการปกครองในชุมชน
1.7 แผนที่ชุมชน
1.8 ภาพสภาพแวดล้อมของชุมชน
2. ข้อมูลแบบสัมภาษณ์ของคณะกรรมการชุมชน
ชื่อชุมชน ชุมชนศรีสมิต
ชื่อผู้ให้สัมภาษณ์ สายใจ แสงมาน ตำแหน่ง/หน้าที่ ประธานชุมชน
นิคม หมัดชา ตำแหน่ง/หน้าที่ รองประธาน
สุเทพ รอมลี ตำแหน่ง/หน้าที่ เลขานุการ
1. ที่ตั้งของชุมชน
2. อาณาเขตติดต่อ
- ทิศเหนือติดกับ ประชาอุทิศ 61
- ทิศตะวันออกติดกับ คลองสะพานควาย
- ทิศใต้ติดกับ ประชาอุทิศ
- ทิศตะวันตกติดกับ ประชาอุทิศ 61
3. คณะกรรมการชุมชนมีบทบาทในการพัฒนาหรือการปกครองชุมชนอย่างไรบ้าง
ให้ความรู้กับชุมชนสื่อสารกับชุมชนและหน่วยงานอื่นๆเตรียมอำนวยความ
สะดวกเช่นกับปปส. ทำความสะอาด ดูแลความสงบเรียบร้อย
4. ภายในชุมชนมีสถานที่สำคัญอะไรบ้างและมีความเป็นมาอย่างไร
5. ชุมชนมีกฏระเบียบหรือข้อบังคับในการอยู่ร่วมกันภายในชุมชนอย่างไรบ้าง
จัดที่เก็บขยะให้เป็นที่เป็นทาง แจกอุปกรณ์ให้กับชาวบ้านทำความสะอาด ดูแลให้
ตามกฎระเบียบ หน้าบ้านน่ามอง
6. ชุมชนมีนโยบายหรือแผนในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง
คิดใหม่ทำใหม่เพื่อชุมชน
7. ในชุมชนมีปัญหาอะไรบ้าง
- ปัญหาด้านสังคม
มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหายาเสพติด ปัญหาลักเล็กขโมยน้อย
ปัญหาทะเลาะกัน ปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
น้อย มีปัญหา ปัญหาวิ่งราว ปัญหาอย่าร้าง ปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
- ปัญหาด้านเศรษฐกิจ
มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาคนว่างงาน
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาหนี้นอกระบบ ปัญหาหนี้ในระบบ
น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาขาดโอกาสในการพัฒนาฝีมือ ขาดตลาด
ขายผลิตภัณฑ์ ปัญญาการรวมกลุ่มอาชีพ
- ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
มาก มีปัญหาอะไรบ้าง -
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาผิวจราจรชำรุด ปัญหาการจราจร ปัญหา
การขยายเครือข่ายของการไฟฟ้าที่ไม่ทั่วถึง ปัญหาการสื่อสารแลโทรคมนาคม ปัญหาอุปกรณื
ไฟฟ้าชำรุด
- ปัญหาด้านสารธารณสุข
มาก มีปัญหา ขาดแคลนสถานที่ออกกำลังกาย ปัญหาการติดบุหรี่
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง - ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ ปัญหาการติด
สุรา
น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง การแพร่ระบาดของโรคที่มีสัตว์นำโรคเป็น
พาหะ เช่น ยุง แมลง หนู
- ปัญหาด้านการศึกษา
ชุมชนศรีสมิต ไม่มีปัญหาทางด้านการศึกษา
- ปัญหาด้านศาสนา
ชุมชนศรีสมิต ไม่มีปัญหาทางด้านศาสนา
- ปัญหาด้านประเพณีและวัฒนธรรม
ชุมชนศรีสมิต ไม่มีปัญหาทางด้านประเพณีและวัฒนธรรม
- ปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
มาก มีปัญหาอะไรบ้าง ขยะมูลฝอย
ปานกลาง มีปัญหาอะไรบ้าง -
น้อย มีปัญหาอะไรบ้าง ปัญหาน้ำเน่าเสีย, ปัญหาชุมชนแออัด
- ปัญหาด้านการเมืองการบริหาร
ชุมชนศรีสมิต ไม่มีปัญหาทางด้านการเมืองการบริหาร
8. จงเรียงลำดับความสำคัญของปัญหาที่ชุมชนต้องแก้ไขเร่งด่วนมากที่สุด เพราะอะไร
8.1 ยาเสพติด
8.2 สิ่งแวดล้อม
8.3 คนว่างงาน
9. ในชุมชนมีกลุ่มกิจกรรมอะไรบ้างที่ทางราชการและเอกชนเข้ามาส่งเสริม
- ด้านสุขภาพ
มี กิจกรรมอะไรบ้าง กิจกรรมรณรงค์ต่อต้านการเผยแพร่ระบาดของ
ยาเสพติดในชุมชน , ควบคุมโรคความดันโลหิต, กิจกรรมรณรงค์ควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก,
- ด้านอาชีพ
มี กิจกรรมอะไรบ้าง การส่งเสริมรายได้พิเศษของเด็ก กิจกรรมชีวิต
พอเพียงตามแนวพระราชดำริ, การจัดตั้งกลุ่มแม่บ้าน กลุ่มโอท็อป
- ด้านการออมทรัพย์
ชุมชนศรีสมิต ไม่มีกิจกรรมทางด้านการออมทรัพย์เลย
- ด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
มีกิจกรรมอะไรบ้าง การทำบุญตักบาตร ฝึกปฎิบัติเกี่ยวกับศาสนพิธีและ
วันสำคัญทางศาสนา
- ด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม
มี กิจกรรมอะไรบ้าง การป้องกันยาเสพติด, กิจกรรมเพื่อเยาวชน
- ด้านการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อม
มี กิจกรรม เก็บขยะในชุมชน, , รณรงค์ให้ทิ้งขยะในถังขยะจัดที่ใส่ขยะ
ให้เป็นระเบียบ
- ด้านการเมืองการปกครอง
รณรงค์ให้ไปใช้สิทธิเลือกตั้งทุกๆครั้งที่มีการเลือกตั้ง
มี กิจกรรมอะไรบ้าง รณรงค์ให้ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งทุก ๆ ครั้งที่มีการ
เลือกตั้ง,
10. ชุมชนมีโครงการในการพัฒนาชุมชนอะไรบ้างและแต่ละโครงการมีกิจกรรมอย่างไร
10.1 โครงการป้องกันปัญหายาเสพติด
10.2 ตรวจความดันผู้สูงอายุ
10.3 โครงการตรวจสุขภาพติด
11. คนดีและเก่งที่เป็นกำลังสำคัญในชุมชน
- ด้านการทำอาหาร
ขนมไทย อรสา แสงศรี
การทำอาหารคาวหวาน นุศรา แสนสมบัติ
- ด้านการช่าง
ช่างไม้ มูฮำหมัด ยันวา
ช่างปูน มูฮำหมัด ยันวา
ช่างเย็บผ้า หวานใจ แสงมาน
ช่างเขียนป้าย มาโนชย์ ยันวา
ช่างไฟ สุเทพ รอมลี
- ด้านการเกษตร
- ด้านศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม (ทุกศาสนาที่มีอยู่ในชุมชน)
- ด้านการแพทย์แผนไทย
การนวดเพื่อรักษาโรค สุชาดา พื้นผา
- ด้านการประดิษฐ์
การประดิษฐ์ขวดพลาสติกเป็นรูปสัตว์ สังวาลย์ เขียวชะอุ่ม
การประดิษฐ์กระเป๋าจากลูกปัด นารีรัตน์ อับดุลเลาะห์
- ด้านอื่น ๆ
12. ในชุมชนมีจุดอ่อนจุดแข็งอะไรบ้าง
จุดแข็ง - กรรมการมีความมุ่งมั่นตั้งใน
- กรรมการมีความเสียสละ
จุดอ่อน - คนในชุมชนไม่ค่อยให้ความร่วมมือ
- ทุนไม่มี
13. รายชื่อคณะกรรมการหมู่บ้าน
1. นางสายใจ แสงมาน ตำแหน่ง ประธาน
2. นายนิคม หมัดชา ตำแหน่ง รองประธาน
3. นายสุเทพ รอมลี ตำแหน่ง เลขานุการ
4. ชมนารถ หมุดกาญจน์ ตำแหน่ง เหรัญญิก
5. นายกฤษดา ใจทับทิม ตำแหน่ง กรรมการ
4. นางสุกัญญา อินทรสมบัติ ตำแหน่ง กรรมการ
5. นางระย้า อินทรสมบัติ ตำแหน่ง กรรมการ
14. รายชื่อพัฒนาชุมชน (อช.)
15. รายชื่ออาสาสาธารณประจำชุมชน (อส.ม)
1. นรีนุช วัยสุภีย์
2. สมหมาย กลับโก
3. สุทธิราตรี รอมลี
16. ในชุมชนมีสิ่งที่ทำให้สมาชิกในชุมชนมีความภาคภูมิใจอะไรบ้างเพราะอะไร
1. การพัฒนาชุมชน
2. รางวัลวันแม่ดีเด่น
3. รางวัลวันพ่อดีเด่น
4. โครงการจัดงานวันเด็ก
17. ชุมชนมีความต้องการหรือความคาดหวังในการพัฒนาชุมชนอย่างไรบ้าง
1. อยากให้ชุมชนเป็นสีขาว
2. อยากเห็นชุมชนปลอดอบายมุข
3. อยากให้มีสนามกีฬา
3. ข้อมูลแบบสอบถามของชุมชน
3.1. ส่วนที่ 1 ข้อมูลด้านประชากรของ
สมาชิกในครัวเรือน
3.1.1 ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนของชุมชน
ประกอบด้วย ข้อมูลรวมของสมาชิกใน
ครัวเรือน ข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็น
เพศชาย และข้อมูลสมาชิกในครัวเรือนที่เป็น
เพศหญิง
ข้อมูลรวมจำนวนสมาชิกในครัวเรือนของ
ชุมชน (ตารางที่ 1)
ครัวเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนนี้มีสมาชิก
ประมาณ 2-5 คน ต่อครัวเรือน
3.1.2 ข้อมูลส่วนบุคคลของสมาชิกใน
ครัวเรือนทั้งหมด
ร้อยละของเพศชายและเพศหญิง (ตารางที่ 2)
ชุมชนศรีสมิตมีประชากรประกอบด้วยเพศชาย
ร้อยละ 46.1 เพศหญิง 52.9 และไม่ตอบร้อยละ 1
อายุ (ตารางที่ 3)
ชุมชนศรีสมิตประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง
41-50 ปี คิดเป็นร้อยละ 19.6 มีเด็กอายุอยู่ในช่วง
0-10 ปีร้อยละ 14.7 และผู้สูงอายุร้อยละ 5
การศึกษา (ตารางที่ 4)
ชุมชนศรีสมิตประชากรส่วนใหญ่มีการศึกษาใน
ระดับประถมศึกษา
ศาสนา (ตารางที่ 5)
ชุมชนศรีสมิตประชากรส่วนใหญ่นับถือ
ศาสนาพุทธ
รายได้ (ตารางที่ 6)
ชุมชนศรีสมิตประชากรส่วนใหญ่มีรายได้อยู่
ในช่วง 5001-10000 บาท
รายจ่าย (ตารางที่ 7)
ชุมชนศรีสมิตประชากรส่วนใหญ่มีรายจ่าย
อยู่ในช่วง 5001 10000 บาท
อาชีพหลัก (ตารางที่ 8)
ชุมชนศรีสมิตประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ
หลักคือ รับจ้าง
อาชีพเสริม (ตารางที่ 9)
คนในชุมชนศรีสมติส่วนใหญ่ร้อยละ 99 ไม่มี
อาชีพเสริม
โรค (ตารางที่ 10)
โรคประจำตัวของคนในชุมชนศรีสมิต ได้แก่
หอบหืด ความดันโลหิต เบาหวาน ภูมิแพ้
หัวใจ มะเร็ง
3.1.3 ข้อมูลสถานะภาพของครัวเรือนในชุมชน
(ตารางที่ 11)
คนในชุมชนแยกกันอยู่หรือหย่าร้างประมาณ
ร้อยละ 16
3.1.4 ข้อมูลความขัดแย้งหรือการทะเลาะกัน
ในครัวเรือน (ตารางที่ 12)
คนในชุมชนศรีสมิตร้อยละ 13.3 ทะเลาะกัน
อาทิตย์ละ1-2 ครั้งและ ร้อยละ 3.3 ทะเลาะ
กันทุกวัน
3.1.5 จำนวนข้อมูลผู้ว่างงานในครัวเรือน
(ตารางที่ 13)
ในครัวเรือนในชุมชนส่วนใหญ่มีคนว่างงาน
ประมาณ 2 คน
3.1.6 ข้อมูลจำนวนผู้พิการในครัวเรือน
(ตารางที่ 14)
มีอยู่ประมาณ 2 ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็นร้อย
ละ 3.4 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.7 ข้อมูลจำนวนผู้ติดสุราในครัวเรือน
(ตารางที่ 15)
มีผู้ติดสุรา 1-2 คนคิดเป็นร้อยละ 5 ของครัวเรือน
ทั้งหมด
3.1.8 ข้อมูลจำนวนผู้ติดบุหรี่ในครัวเรือน
(ตารางที่ 16)
มีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คนคิดเป็นร้อยละ
18.3 ของครัวเรือนทั้งหมด
3.1.9 ข้อมูลการเล่นการพนันในครัวเรือน
ประกอบด้วย การเล่นการพนันของสมาชิกใน
ครัวเรือน และข้อมูลจำนวนสมาชิกใน
ครัวเรือนที่เล่นการพนัน
ข้อมูลการเล่นพนันของสมาชิกในครัวเรือน
(ตารางที่ 17)
มีเล่นการพนันคิดเป็นร้อยละ 11.7 ของ
ครัวเรือนทั้งหมด
ข้อมูลจำนวนสมาชิกที่เล่านการพนันใน
ครัวเรือน (ตารางที่ 18)มีผู้เล่นการพนัน 1 คน 6 ครัวเรือน คิดเป็น
ร้อยละ 10 และมีผู้เล่นการพนัน 2 คน 1
ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 1.7 ของครัวเรือน
ทั้งหมด
3.1.10 ข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของ
สมาชิกในครัวเรือน ประกอบด้วย ข้อมูลการซื้อ
สลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกในครัวเรือน
ข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล และข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล
ข้อมูลการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของสมาชิกใน
ครัวเรือน (ตารางที่ 19)
มีผู้ซื้อกลากกินแบ่งคิดเป็นร้อยละ 23.4 ของครัว
เรื่อนทั้งหมด
ข้อมูลจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล (ตารางที่ 20)
ร้อยละ 16.7 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกิน
แบ่งรัฐบาล ส่วนใหญ่จะซื้อประมาณ 1 คนใน
ครอบครัวข้อมูลรายจ่ายในการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล
(ตารางที่ 21)
ส่วนใหญ่ใช้เงินซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลเดือน
ละ 200 บาท
3.1.11 ข้อมูลระดับความสำคัญในการใช้จ่าย
ของครัวเรือน ประกอบด้วย ค่าอาหาร ค่าเช่า
บ้านหรือผ่านบ้าน ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์
ค่าการศึกษาบุตร ค่าเดินทาง ค่าเครื่องใช้ใน
ครัวเรือน ค่าเครื่องใช้ส่วนตัว และค่า
รักษาพยาบาล
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าอาหารของครัวเรือน (ตารางที่ 21)
ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ
อันดับ 7
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านของครัวเรือน
(ตารางที่ 22)
ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 4
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
น้ำ ค่าไฟ และค่าโทรศัพท์ของครัวเรือน
(ตารางที่ 23)
ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มี
ความสำคัญอันดับ 8
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าการศึกษาของบุตร (ตารางที่ 24)
ค่าเล่าเรียนบุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญ
อันดับ 5
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่าเดินทาง (ตารางที่ 25)
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้
ความสำคัญอันดับ 6ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
ของใช้ในครัวเรือน (เช่น สบู่ แชมพู ผงซักฟอก
เครื่องใช้ไฟฟ้า ฯลฯ) (ตารางที่ 26)
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่ แชมพู ผงซักฟอก
เครื่องใช้ไฟฟ้า มีความสำคัญอันดับ 5
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
เครื่องใช้ส่วนตัว (เช่น เสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้า
ฯลฯ) (ตารางที่ 27)
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้ส่วนตัวให้
ความสำคัญอันดับ 3
ข้อมูลระดับควมสำคัญในการใช้จ่ายเกี่ยวกับ
ค่ารักษาพยาบาล (ตารางที่ 28)
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้
ความสำคัญอันดับ 2
3.1.12 ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน
ประกอบด้วย ข้อมูลการออมเงิน และข้อมูล
จำนวนเงินออม
ข้อมูลการออมเงินในครัวเรือน (ตารางที่ 29)
มีการออมเงินร้อยละ 21.7 ของครัวเรือน
ทั้งหมด
ข้อมูลจำนวนเงินออมในครัวเรือน
(ตารางที่ 30)
ร้อยละ 16.7 ของครัวเรือนไม่มีเงินออม
3.1.13 ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน
ประกอบด้วย ข้อมูลการมีหนี้สิน และข้อมูล
จำนวนหนี้สิน
ข้อมูลการมีหนี้สินในครัวเรือน (ตารางที่ 31)
ร้อยละ 28.3 ของครัวเรือนมีหนี้สิน
ข้อมูลจำนวนหนี้สินในครัวเรือน
(ตารางที่ 32)
ร้อยละ 11.7 ของครัวเรือนไม่มีหนี้สิน
3.1.14 ข้อมูลการทำรายรับ รายจ่า
(ตารางที่ 33)
มี 1 ครอบครัวที่ทำบัญชีรายรัย-รายจ่าย
3.2 ส่วนที่ 2 ข้อมูลด้านที่อยู่อาศัย
3.2.1 ภูมิลำเนาเดิม
ต่างจังหวัด ได้แก่ สตูล จำนวน 1
ครัวเรือน นอกนั้นเป็นครอบครัวดั้งเดิมที่
อาศัยอยู่ในชุมชนนี้
3.2.2 ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในชุมชน
(ตารางที่ 34)
อาศัยอยู่ในชุมชนในช่วง 1-77 ปี ส่วนใหญ่อาศัย
อยู่ประมาณ 20และ30 ปี
3.2.3 การครอบครองที่อยู่อาศัย ประกอบด้วย
ข้อมูลการครอบครองที่อยู่อาศัย และข้อมูลด้าน
จำนวนพื้นที่อยู่อาศัย
การครอบครองที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 35)
ที่พักอาศัยส่วนใหญ่เป็นเจ้าของร้อยละ 83.3
จำนวนพื้นที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 36)
ส่วนใหญ่มีพื้นที่อยู่อาศัยประมาณ 25 ตรว.
3.2.5 ลักษณะของที่อยู่อาศัย (ตารางที่ 37)
ส่วนใหญ่ที่อยู่อาศัยเป็นแบบบ้านเดี่ยวสอง
ชั้นร้อยละ 48.3
3.2.4 บริเวณที่อยู่อาศัยของท่านมีความปลอดภัย
ในชีวิตและทรัพย์สินหรือไม่ (ตารางที่ 38)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.7 เห็นว่ามีความปลอดภัยใน
ระดับปานกลาง
3.2.6 ครัวเรือนของท่านถูกรบกวนจากภาวะ
ต่าง ๆ หรือไม่
ถูกรบกวนจากขยะ (ตารางที่ 39)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 43.3 เห็นว่าถูกรบกวนจากขยะ
ในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากน้ำเน่าเสีย (ตารางที่ 40)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 46.7 เห็นว่าถูกรบกวนจาก
น้ำเสียในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากน้ำท่วม (ตารางที่ 41)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 70 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำ
ท่วมในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากเสียงดัง (ตารางที่ 42)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 55 เห็นว่าถูกรบกวนจาก
เสียงดังในระดับน้อย
ถูกรบกวนจากการจรจรติดขัด (ตารางที่ 43)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 เห็นว่าไม่มีการถูกรบกวน
จากจราจรติดขัด
ถูกรบกวนจากฝุ่นควันและก๊าซพิษ
(ตารางที่ 44)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 47 เห็นว่าไม่ม่การถูกรบกวน
จากฝุ่นควันและก๊าซพิษ
ถูกรบกวนจากด้านอื่น ๆ (ตารางที่ 45)
ส่วนใหญ่ร้อยละ56.7 ไม่ตอบว่าถูกรบกวนจาก
สิ่งอื่นๆ
3.2.7 ในรอบปีที่ผานมาครัวเรือนของท่านได้รับ
การช่วยเหลือหรือการสนับสนุน ด้านใดบ้างและ
จากหน่วยงานใด (เช่น) ค่าเล่าเรียนบุตร การ
ส่งเสริมอาชีพ การพ่นหมอกควันกำจัดยุง)
(ตารางที่ 46)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 86.7 ได้รับความช่วยเหลือ
จากหน่วยงานต่างๆ
สิ่งที่ได้รับการสนับสนุน มีการพ่นหมอกควัน
กำจัดยุงลาย
ความต้องการการสนับสนุน
1. การพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย 1 ราย
2. ส่งเสิรมให้มีรายได้เสริม 17 ราย
3.ท่อระบายน้ำ 5 ราย
4. ทุนการศึกษา 1 ราย
5. ช่วยเหลือผู้สูงอายุให้มีรายได้ 2 ราย
6. ขยะมูลฝอย 1 ราย
3.3 ส่วนที่ 3 ข้อมูลด้านการเป็นสมาชิกกลุ่ม
หรือการร่วมทำกิจกรรมที่ได้รับการส่งเสริม
3.3.1 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านสุขภาพ
กิจกรรมออกกำลังกายผู้สูงอายุ (ตารางที่ 47)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 95 ไม่ตอบว่ามีการเข้าร่วม
หรือไม่
เยาวชนรักกีฬา (ตารางที่ 48)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3ไม่ตอบว่ามีการเข้าร่วม
กิจกรรมเยาวชนรักกีฬาหรือไม่
เต้นแอโรบิค (ตารางที่ 49)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีการเข้าร่วม
กิจกรรมเต้นแอโรบิคหรือไม่
งดสูบบุหรี่ (ตารางที่ 50)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 96.7ไม่ตอบว่า เข้าร่วมกิจกรรม
งดสูบบุหรี่หรือไม่
ต่อต้านยาเสพติด (ตารางที่ 51)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 33.3 เข้าร่วมกิจกรรมต่อต้าน
ยาเสพติด
ป้องกันอุบัติเหตุ (ตารางที่ 52)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 86.7 ไม่ตอบว่าเข้าร่วม
กิจกรรมป้องกันอุบัติเหตุหรือไม่
ควบคุมเบาหวาน (ตารางที่ 53)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 43.3 เข้าร่วมกิจกรรม
ควบคุมเบาหวาน
ควบคุมความดันโลหิต (ตารางที่ 54)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 46.7 เข้าร่วมกิจกรรม
ควบคุมความดันโลหิตควบคุมไข้เลือดออก (ตารางที่ 55)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.3 ไม่ตอบว่ามีการเข้าร่วม
กิจกรรมควบคุมไข้เลือดออกหรือไม่
ตรวจมะเร็งปากมดลูก (ตารางที่ 56)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีการเข้าร่วม
กิจกรรมตรวจมะเร็งปากมดลูกหรือไม่
ตรวจมะเร็งเต้านม (ตารางที่ 57)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3ไม่ตอบว่ามีการ เข้าร่วม
กิจกรรมควบคุมมะเร็งเต้านมหรือไม่
3.3.2 ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมด้านอาชีพ
ฝึกอาชีพเสริม (ตารางที่ 58)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรม
ฝึกอาชีพเสริมหรือไม่
ส่งเสริมการท่องเที่ยว (ตารางที่ 59)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.3 ไม่ตอบว่าเข้าร่วม
กิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวหรือไม่
ส่งเสริมรายได้เด็ก (ตารางที่ 60)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 85 ไม่ตอบว่าเข้าร่วม
กิจกรรมเสริมรายเด็กหรือไม่กิจกรรมชีวิตพอเพียง (ตารางที่ 61)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมชีวิต
พอเพียงหรือไม่
กลุ่มแม่บ้าน (ตารางที่ 62)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
กลุ่มแม่บ้านหรือไม่
OTOP (ตารางที่ 63)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ไม่ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
OTOPหรือไม่
อาชีพอื่นๆ (ตารางที่ 64)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
อาชีพอื่น ๆ หรือไม่
3.3.3 ข้อมูลด้านการออมทรัพย์
การทำบัญชีครัวเรือน (ตารางที่ 65)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีการทำ
บัญชีครัวเรือนหรือไม่
กองทุนหมู่บ้าน (ตารางที่ 66)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.3 ไม่ตอบว่าเข้าร่วม
กิจกรรมกองทุนหมู่บ้านหรือไม่
กลุ่มณาปนกิจ (ตารางที่ 67)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3ไม่ตอบว่ามีกิจกรรม
กลุ่มณาปนกิจหรือไม่
กลุ่มออมทรัพย์ (ตารางที่ 68)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมกลุ่ม
ออมทรัพย์หรือไม่
กองทุนอาชีพ (ตารางที่ 69)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
กองทุนอาชีพ
ร้านค้าชุมชน (ตารางที่ 70)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมร้านค้า
ชุมชน
ออมทรัพย์อื่นๆ (ตารางที่ 71)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมออม
ทรัพย์อื่นๆ หรือไม่
3.3.4 ข้อมูลด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
อนุรักษ์ศิลปะ (ตารางที่ 72)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรม
กลุ่มอนุรักษ์ศิลปะ
การทำบุญตักบาตร (ตารางที่ 73)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 59 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมการ
ทำบุญตักบาตรหรือไม่
วันปีใหม่สงกรานต์ (ตารางที่ 74)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมปี
ใหม่สงกรานต์หรือไม่
การส่งเสริมศิลปะ (ตารางที่ 75)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรม
ส่งเสริมศิลปะหรือไม่
ศาสนพิธี (ตารางที่ 76)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมศาสน
พิธีหรือไม่
พิธีอื่นๆ (ตารางที่ 77)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมพิธี
อื่น ๆ หรือไม่
3.3.5 ข้อมูลด้านการแก้ไขปัญหาทางสังคม
ป้องกันยาเสพติด (ตารางที่ 78)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรม
ป้องกันอยาเสพติดหรือไม่กลุ่มผู้สูงอายุ (ตารางที่ 79)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรม
กลุ่มผู้สูงอายุ
กิจกรรมเยาวชน (ตารางที่ 80)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรม
เยาวชนหรือไม่
ป้องกันขโมย (ตารางที่ 81)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรม
ป้องกันขโมยหรือไม่
กิจกรรมห่วงใยวัย70 (ตารางที่ 82)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรม
ห่วงใยวัย70หรือไม่
สถาบันครอบครัว (ตารางที่ 83)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรม
ส่งเสริมสถาบันครอบครัว
เลี้ยงดูผู้พิการ (ตารางที่ 84)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมเลี้ยงดู
ผู้พิการหรือไม่
กองทุนพัฒนาชุมชน (ตารางที่ 85)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรม
กองทุนพัฒนาชุมชนหรือไม่
กองทุนผู้สูงอายุ (ตารางที่ 86)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรม
กองทุนผู้สูงอายุหรือไม่
3.3.6 ข้อมูลด้านการจัดการรักษาสิ่งแวดล้อม
ระวังคุณภาพน้ำ (ตารางที่ 87)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรม
เฝ้าระวังคุณภาพน้ำหรือไม่
ชุมชนน่าอยู่ (ตารางที่ 88)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 ตอบว่าไม่มีกิจกรรม
ชุมชนน่าอยู่
เก็บขยะในชุมชน (ตารางที่ 89)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมเก็บ
ขยะในชุมชนหรือไม่
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (ตารางที่ 90)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 56 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อม
ขุดลอกคูคลอง (ตารางที่ 91)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมขุด
ลอกคูคลองหรือไม่
ปลูกต้นไม้ (ตารางที่ 92)
ปลูกต้นไม้หรือไม่
ซ่อมแซมสาธารณูปโภค (ตารางที่ 93)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรม
ซ่อมแซมสาธารณูปโภค
ทำความสะอาด (ตารางที่ 94)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรม
ทำความสะอาดหรือไม่
ทิ้งขยะในถัง (ตารางที่ 95)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรม
ทิ้งขยะในถังหรือไม่
อนุรักษ์อื่นๆ (ตารางที่ 96)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรม
อนุรักษ์อื่น ๆ หรือไม่
3.3.7 ข้อมูลด้านการเมืองการปกครอง
รณรงค์เลือกตั้ง (ตารางที่ 97)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 91.7 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม
รณรงค์เลือกตั้ง
อบรมความรู้การเมือง (ตารางที่ 98)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมอบรม
ความรู้การเมืองหรือไม่
รณรงค์อื่นๆ (ตารางที่ 99)
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรม
รณรงค์อื่น ๆ หรือไม่
สรุปข้อมูลจากการสำรวจโดยแบบสอบถามระหว่างวันที่
..................
สำรวจโดยใช้แบบสอบถามจากครัวเรือนทั้งหมด 60 ครัวเรือนคิดเป็น 60 เปอร์เซนต์ของ
ครัวเรือนทั้งหมดในชุมชน ครัวเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนนี้มีสมาชิกประมาณ 2-5 คน ต่อครัวเรือน
ประกอบด้วยเพศชายร้อยละ 46.1 เพศหญิง 52.9 และไม่ตอบร้อยละ 1ประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่
ในช่วง 41-50 ปี มีเด็กอายุอยู่ในช่วง 0-10 ปีร้อยละ 14.7 และผู้สูงอายุร้อยละ 5 ประชากรส่วนใหญ่มี
การศึกษาในระดับประถมศึกษา ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประชากรส่วนใหญ่มีรายได้อยู่
ในช่วง 5001-10000 บาท ประชากรส่วนใหญ่มีรายจ่ายอยู่ในช่วง 5001 10000 บาท ประชากรส่วน
ใหญ่ประกอบอาชีพหลักคือ รับจ้าง คนในชุมชนร่วมใจส่วนใหญ่ร้อยละ 99 ไม่มีอาชีพเสริม
โรคประจำตัวของคนในชุมชนศรีสมิต ได้แก่ หอบหืด ความดันโลหิต เบาหวาน ภูมิแพ้ หัวใจ มะเร็ง
คนในชุมชนแยกกันอยู่หรือหย่าร้างประมาณ ร้อยละ 16 คนในชุมชนร้อยละ 13.3 ทะเลาะกันอาทิตย์ละ
1-2 ครั้งและ ร้อยละ 3.3 ทะเลาะกันทุกวัน ในครัวเรือนในชุมชนส่วนใหญ่มีคนว่างงาน ประมาณ 2 คน
มีอยู่ประมาณ 2 ครัวเรือนที่มีผู้พิการคิดเป็นร้อยละ 3.4 ของครัวเรือนทั้งหมด มีผู้ติดสุรา 1-2 คนคิดเป็น
ร้อยละ 5 ของครัวเรือนทั้งหมด มีผู้ติดบุหรี่อย่างน้อย 1 คนคิดเป็นร้อยละ 18.3 ของครัวเรือนทั้งหมด มี
เล่นการพนันคิดเป็นร้อยละ 11.7 ของครัวเรือนทั้งหมด มีผู้เล่นการพนัน 1 คน 6 ครัวเรือน คิดเป็นร้อย
ละ 10 และมีผู้เล่นการพนัน 2 คน 1 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 1.7 ของครัวเรือนทั้งหมด มีผู้ซื้อกลากกิน
แบ่งคิดเป็นร้อยละ 23.4 ของครัวเรื่อนทั้งหมด ร้อยละ 16.7 ของครัวเรือนทั้งหมดซื้อสลากกินแบ่ง
รัฐบาล ส่วนใหญ่จะซื้อประมาณ 1 คนในครอบครัว ส่วนใหญ่ใช้เงินซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลเดือนละ
200 บาท ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลให้ความสำคัญอันดับ 2 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเครื่องใช้
ส่วนตัวให้ความสำคัญอันดับ 3 ค่าเช่าบ้านหรือค่าผ่อนบ้านเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 4 ค่าเล่า
เรียนบุตรเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 5 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสบู่ แชมพู ผงซักฟอก เครื่องใช้ไฟฟ้า
มีความสำคัญอันดับ 5 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นค่าใช้จ่ายที่ให้ความสำคัญอันดับ 6 ค่าใช้จ่ายด้าน
อาหารเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 7 ค่าสาธารณูปโภคเป็นค่าใช้จ่ายที่มีความสำคัญอันดับ 8 มี
การออมเงินร้อยละ 21.7 ของครัวเรือนทั้งหมด ร้อยละ 16.7 ของครัวเรือนไม่มีเงินออม ร้อยละ 28.3
ของครัวเรือนมีหนี้สิน ร้อยละ 11.7 ของครัวเรือนไม่มีหนี้สิน มี 1 ครอบครัวที่ทำบัญชีรายรัย-รายจ่าย
ด้านที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมครัวเรือน คนในชุมชนศรีสมิตมีภูมิลำเนาเดิม ต่างจังหวัด
ได้แก่ สตูล อยู่ 1 ครัวเรือน ที่เหลือเป็นคนกรุงเทพฯ ดั้งเดิม ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ประมาณ 20และ30 ปี ที่
พักอาศัยส่วนใหญ่เป็นเจ้าของร้อยละ 83.3 ส่วนใหญ่มีพื้นที่อยู่อาศัยประมาณ 25 ตรม. ส่วนใหญ่ที่อยู่
อาศัยเป็นแบบบ้านเดี่ยวสองชั้นร้อยละ 48.3 ส่วนใหญ่ร้อยละ 71.7 เห็นว่ามีความปลอดภัยในระดับปาน
กลาง ส่วนใหญ่ร้อยละ 43.3 เห็นว่าถูกรบกวนจากขยะในระดับน้อย ส่วนใหญ่ร้อยละ 46.7 เห็นว่าถูก
รบกวนจากน้ำเสียในระดับน้อย ส่วนใหญ่ร้อยละ 70 เห็นว่าถูกรบกวนจากน้ำท่วมในระดับน้อย ส่วน
ใหญ่ร้อยละ 55 เห็นว่าถูกรบกวนจากเสียงดังในระดับน้อย ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 เห็นว่าไม่มีการถูก
28
รบกวนจากจราจรติดขัด ส่วนใหญ่ร้อยละ 47 เห็นว่าไม่ม่การถูกรบกวนจากฝุ่นควันและก๊าซพิษ ส่วน
ใหญ่ร้อยละ56.7 ไม่ตอบว่าถูกรบกวนจากสิ่งอื่นๆ ส่วนใหญ่ร้อยละ 86.7 ได้รับความช่วยเหลือจาก
หน่วยงานต่างๆ สิ่งที่ได้รับการสนับสนุน มีการพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย ความต้องการการ
สนับสนุนพ่นหมอกควันกำจัดยุง ส่งเสิรมให้มีรายได้เสริม ท่อระบายน้ำ ทุนการศึกษา ช่วยเหลือ
ผู้สูงอายุให้มีรายได้ ขยะมูลฝอย
ในด้านการเข้าร่วมกิจกรรมในชุมชน ส่วนใหญ่ร้อยละ 95 ไม่ตอบว่ามีการเข้าร่วมหรือไม่
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3ไม่ตอบว่ามีการเข้าร่วมกิจกรรมเยาวชนรักกีฬาหรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่
ตอบว่ามีการเข้าร่วมกิจกรรมเต้นแอโรบิคหรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 96.7ไม่ตอบว่า เข้าร่วมกิจกรรมงด
สูบบุหรี่หรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 33.3 เข้าร่วมกิจกรรมต่อต้านยาเสพติด ส่วนใหญ่ร้อยละ 86.7 ไม่
ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมป้องกันอุบัติเหตุหรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 43.3 เข้าร่วมกิจกรรมควบคุม
เบาหวาน ส่วนใหญ่ร้อยละ 46.7 เข้าร่วมกิจกรรมควบคุมความดันโลหิต ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.3 ไม่
ตอบว่ามีการเข้าร่วมกิจกรรมควบคุมไข้เลือดออกหรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีการเข้า
ร่วมกิจกรรมตรวจมะเร็งปากมดลูกหรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3ไม่ตอบว่ามีการ เข้าร่วมกิจกรรม
ควบคุมมะเร็งเต้านมหรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมฝึกอาชีพเสริมหรือไม่
ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.3 ไม่ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวหรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 85 ไม่
ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมเสริมรายเด็กหรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมชีวิตพอเพียง
หรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มแม่บ้านหรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ไม่
ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรม OTOPหรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมอาชีพอื่น ๆ
หรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีการทำบัญชีครัวเรือนหรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.3 ไม่ตอบ
ว่าเข้าร่วมกิจกรรมกองทุนหมู่บ้านหรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมกลุ่มณาปนกิจ
หรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์หรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่
ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมกองทุนอาชีพ ส่วนใหญ่ร้อยละ 100 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมร้านค้าชุมชน
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมออมทรัพย์อื่นๆ หรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามี
กิจกรรมกลุ่มอนุรักษ์ศิลปะ ส่วนใหญ่ร้อยละ 59 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมการทำบุญตักบาตรหรือไม่
ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมปีใหม่สงกรานต์หรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามี
กิจกรรมส่งเสริมศิลปะหรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมศาสนพิธีหรือไม่ ส่วนใหญ่
ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมพิธี อื่น ๆ หรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรม
ป้องกันอยาเสพติดหรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมกลุ่มผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่ร้อยละ
98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมเยาวชนหรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมป้องกันขโมย
หรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมห่วงใยวัย70หรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบ
ว่ามีกิจกรรมส่งเสริมสถาบันครอบครัว ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมเลี้ยงดูผู้พิการ
หรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมกองทุนพัฒนาชุมชนหรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3
ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมกองทุนผู้สูงอายุหรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมเฝ้าระวัง
คุณภาพน้ำหรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมชุมชนน่าอยู่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่
ตอบว่ามีกิจกรรมเก็บขยะในชุมชนหรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 56 ตอบว่าไม่มีกิจกรรมอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อม ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมขุดลอกคูคลองหรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 96.7
ไม่ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้หรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมซ่อมแซม
สาธารณูปโภค ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมทำความสะอาดหรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ
98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมทิ้งขยะในถังหรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมอนุรักษ์อื่น ๆ
หรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 91.7 ตอบว่าเข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์เลือกตั้ง ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบ
ว่ามีกิจกรรมอบรมความรู้การเมืองหรือไม่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 98.3 ไม่ตอบว่ามีกิจกรรมรณรงค์อื่น ๆ
หรือไม่
|