
ศิลปะการในการอยู่ร่วมกับผู้อื่น
The Art of Living with
Others
ศึกษาธรรมชาติและพฤติกรรมทางสังคมของมนุษย์สัจจธรรมและจริยธรรมแห่งชีวิต
การรู้จักตนเอง การรู้จักผู้อื่น
และการรู้จักสังคม การยอมรับความแตกต่างของบุคคล
และจริยธรรมในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทาง
วัฒนธรรม
และสังคมโลก.
1.
เพื่อให้ผู้เรียนมีความเข้าใจถึงธรรมชาติและพฤติกรรมทางสังคมของมนุษย์
ในสังคมโลกปัจจุบัน
2.
เพื่อให้ผู้เรียนได้รู้จักตนเองและเข้าใจถึงความต้องการของผู้อื่น
3.
เพื่อให้ผู้เรียนยอมรับความแตกต่างของบุคคล
4.
เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักการใช้เหตุผลในการดำรงชีวิตอย่างเหมาะสม
5.
เพื่อให้ผู้เรียนมีจริยธรรมในการดำเนินชีวิต
6.
เพื่อให้ผู้เรียนมีจริยธรรมในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
ลำดับที่ |
หัวข้อ |
Teaching
Methods |
สัปดาห์ที่
1
: |
ชีวิตบนโลก |
บรรยาย
&
กรณีศึกษา |
สัปดาห์ที่
2
: |
ธรรมชาติ
ความต้องการ และความแตกต่างของมนุษย์ |
บรรยาย
&
กรณีศึกษา |
สัปดาห์ที่
3
: |
การรู้จักตนเองและผู้อื่น |
บรรยาย
&
กิจกรรมกลุ่ม |
สัปดาห์ที่
4
: |
การรู้จักสังคมและสภาพแวดล้อม |
บรรยาย
&
กรณีศึกษา |
สัปดาห์ที่
5
: |
ค่านิยมทางสังคมกับการพัฒนาตนเอง |
บรรยาย
&
กรณีศึกษา |
สัปดาห์ที่
6
: |
ปรัชญาการอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีจริยธรรม
(1) |
บรรยาย
&
กิจกรรมกลุ่ม |
สัปดาห์ที่
7
: |
ปรัชญาการอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีจริยธรรม
(2) |
บรรยาย
&
กิจกรรมกลุ่ม |
สัปดาห์ที่
8
: |
อารมณ์และการใช้เหตุผล |
บรรยาย
&
กิจกรรมกลุ่ม |
สัปดาห์ที่
9
: |
บุคลิกภาพและการแสดงออกที่เหมาะสม |
บรรยาย
&
กิจกรรมกลุ่ม |
สัปดาห์ที่
10
: |
ศิลปะในการครองเรือน |
บรรยาย
&
กรณีศึกษา |
สัปดาห์ที่
11
: |
ศิลปะในการทำงานอย่างมีความสุข |
บรรยาย
&
กรณีศึกษา |
สัปดาห์ที่
12
: |
ศิลปะการอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข |
บรรยาย
&
กรณีศึกษา |
สัปดาห์ที่
13
: |
ชีวิตนี้มีคุณค่า
(1) |
บรรยาย
&
กิจกรรมกลุ่ม |
สัปดาห์ที่
14
: |
ชีวิตนี้มีคุณค่า
(2) |
บรรยาย
&
กิจกรรมกลุ่ม |
สัปดาห์ที่
15
: |
แนวทางการปฏิบัติตนเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีในสังคม |
บรรยาย
&
กิจกรรมกลุ่ม |
1.
Power point
2.
Sheet : ศิลปะในการอยู่ร่วมกับผู้อื่น
เรียบเรียงโดย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ริเรืองรอง รัตนวิไลสกุล
3. หนังสืออ่านนอกเวลา
:
ชุดโครงการพบกันครึ่งทาง
1.
รายงานกลุ่ม/กิจกรรมเสริมทักษะ/กิจกรรมภาคสนาม |
25
% |
2. อ่านหนังสือนอกเวลา |
15 %
|
3.
ทดสอบความรู้ความเข้าใจในเชิงทฤษฎีและการวิเคราะห์ |
60
% |
1.
วัดความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาวิชา |
40
% |
2.
วัดทักษะการเรียนรู้และความคิดเชิงวิเคราะห์ |
20
% |
3.
ลักษณะข้อสอบ
:
ปรนัยและอัตนัยปนกัน |
|
4.
การตัดเกรด
:
ใช้หลักการอิงกลุ่มภายใต้แนวทางการเกรดของ
มจธ. |
|
|